Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุวัฒน์ ลิ้มสกุล, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T03:10:05Z-
dc.date.available2023-07-20T03:10:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7994-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องปัญหาฐานภาษีสรรพสามิต : กรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อ... ปัญหาฐานภาษีสรรพสามิตกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาให้ทราบถึงฐานภาษีสรรพสามิตสินค้าที่ผลิตในราชอาณาจักรว่ามีกฎหมายได้วางหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขอย่างไร โดยศึกษาสภาพปัญหาหรืออุปสรรคที่ผ่านมาของฐานภาษีสรรพสามิตสินค้าที่ผลิตในราชอาณาจักรโดยเฉพาะกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม พร้อมกับทำการศึกษาเปรียบเทียบกับฐานภาษีสรรพสามิตของต่างประเทศ แล้วจึงทำการวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยวิธีการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) การศึกษาและค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจากพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 กฎหมายลูกบทที่ออกตามพระราชบัญญัติดังกล่าว วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย ความเห็นทางกฎหมาย คำพิพากษา ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่าปัญหาฐานภาษีสรรพสามิตกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม เป็นปัญหาที่สืบเนื่องมาจากความไม่ชัดเจนของกฎหมายที่ไม่ได้ให้คำนิยามของคำว่าราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมว่าหมายถึงอะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง และกรณีใดถือว่าเป็นกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม กรณีมีปัญหาเกี่ยวกับฐานภาษีดังกล่าวจะใช้วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร ซึ่งแตกต่างกับการกำหนดฐานภาษีสรรพสามิตของต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศแคนาดาที่ประเทศไทยได้นำมาเป็นต้นแบบในการร่างกฎหมายที่มีการให้คำนิยามฐานภาษีที่ชัดเจนว่าหมายถึงอะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง และวิธีการแก้ไขปัญหากรณีมีความไม่ชัดเจนในการกำหนดฐานภาษี ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดเก็บภาษีสรรพสามิตของไทยเป็นอย่างมาก ผู้เขียนจึงได้มีข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาเป็น 2 ระยะ ในระยะสั้นให้เสนอสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทบทวนการตีความกฎหมาย โดยใช้การตีความตามตัวอักษรประกอบกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย และระยะยาวให้แก้ไขเพิ่มเติมนิยามของคำว่า “ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม” และ “กรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม” ให้มีความชัดเจนดังเช่นกรณีของต่างประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอากรสรรพสามิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleปัญหาฐานภาษีสรรพสามิต : กรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมth_TH
dc.title.alternativeProblem on excise tax base : in the case ex-factory price is not availableen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study of the independent study related to problems on the excise tax base in case the ex-factory price is not available aims at studying the excise tax base of goods produced domestically to examine the laws governing its requirements, methods and conditions. In this thesis, the past problems and obstacles of the excise tax base for domestically produced goods are explored, specifically in case of non-availability of the ex-factory price, along with the comparison study with the foreign countries’ excise tax base. Later on, the problems and obstacles are critically analyzed and then the resolution is recommendedfor sorting out the incurred problems. This Independent Study is qualitative research conducted through documentary research. The relevant information are acquired from various sources such as the Excise Act B.E. 2527, the Excise Tariff Act B.E. 2527, the subordinate laws under those Acts, the dissertation, the research report, the legal opinions, the court judgment and the Internet. The research finding indicates that the problem of excise tax base in case of non-availability of the ex-factory price is incurred from the ambiguity of law. The definition of ‘ex-factory price’ is not postulatedunder the relevant laws. Therefore, it is relatively uncertain to identify the meaning and the elements of ‘ex-factory price’ including the case constituted to non-availability of the ex-factory price. This strongly affects Thai excise tax administration and differs from the excise tax base determined in foreign countries. Specifically, Canadian law that was brought to Thailand as a model for draftingthe law provides the clear definition and constituents of the ex-factory price as well as the mechanism for resolving problem incurred from theobscure determination of excise tax base. The writer then recommends two ranges of resolution. In the short term, the proposal for reviewing the interpretation of law should be submitted to the Council of the State. For the long term resolution, the clear definition of ‘ex-factory price’ and the case constituted to ‘non-availability of ex-factory price’ should be enshrined in the legislationen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons