Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนา สิทธิโภอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทิรา เหลืองประเสริฐ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T04:28:47Z-
dc.date.available2023-07-20T04:28:47Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8007-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพทั่วไปของโครงการ และสภาพแวดล้อมทางการบัญชี ของโครงการบ้านจัดสรร อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่เจ้าของโครงการบ้านจัดสรร ไม่ใช้ข้อมูลทางบัญชีในการคำนวณต้นทุนแบบ ABC (3) เพื่อศึกษาการประมาณการต้นทุนค่าก่อสร้างของ โครงการและการคำนวณต้นทุนแบบดั้งเดิม และการคำนวณต้นทุนแบบ ABC ของโครงการบ้านจัดสรร อำเภอ บ้านฉาง จังหวัดระยอง (4) เพื่อเปรียบเทียบการประมาณการต้นทุนค่าก่อสร้างของโครงการ การคำนวณต้นทุน แบบดั้งเดิม และการคำนวณต้นทุนแบบ ABC ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โครงการบ้านจัดสรร 32 โครงการในอำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ โครงการบ้านอิงเมือง อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง เครื่องมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูลในการศึกษางานวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น (Questionnaire) สำหรับตั้งประเด็น ปัญหา และบ้านจัดสรรที่ใช้สำหรับการทดลอง โดยมีแบบตรวจสอบรายการ การคำนวณต้นทุนแบบดั้งเดิม และ แบบ ABC สำหรับรวบรวมข้อมูลต้นทุนการก่อสร้าง โดยการดำเนินการทดลองก่อสร้างบ้าน 2 หลัง เป็นแบบการ คำนวณต้นทุนแบบดั้งเดิม และแบบคำนวณด้นทุนแบบ ABC ผลการวิจัยพบว่า โครงการบ้านจัดสรรในอำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง เป็นโครงการที่มีขนาดโครง การที่มีจำนวนบ้านจัดสรรไม่เกิน 80 หลัง ส่วนมากเป็นโครงการบ้านเดี่ยว โดยเจ้าของโครงการส่วนมากเป็นเพศ ชาย มีอายุ 41 ปีขึ้นไป การ ศึกษาต่ำกว่า ม.6 / ปวช. - ปวส. และมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวของตับการทำ โครงการบ้านจัดสรร 11-20 ปี ผลการทดลองสำหรับบ้านหลังที่มีการบันทึกต้นทุนแบบดั้งเดิมไม่สามารถระบุ ค่าแรงงานในการก่อสร้างได้อย่างแน่นอน อีกทั้งค่าวัสดุก่อสร้างดีมีมูลค่าสูง สำหรับบ้านหลังที่มีการบันทึกต้นทุน แบบ ABC พบว่าต้นทุนการก่อสร้างในส่วนของค่าวัสดุก่อสร้างมีมูลค่าต่ำ และต้นทุนการก่อสร้างในส่วนของ ค่าแรงงานก็สามารถระบุได้ชัดเจนในแต่ละกิจกรรม อีกทั้งต้นทุนในการก่อสร้างรวมก็มีมูลค่าต่ำกว่า ทำให้การ คำนวณต้นทุนแบบ ABC ทราบต้นทุนค่าก่อสร้างทั้งสิ้นที่เป็นต้นทุนก่อสร้างที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด ใน ส่วนของปัญหา และอุปสรรคที่เจ้าของโครงการบ้านจัดสรรในอำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ไม่ใช้ข้อมูลทางบัญชี ในการคำนวณต้นทุนแบบ ABC พบว่า เจ้าของโครงการบ้านจัดสรรโดยส่วนมากไม่รู้จัก และไม่ทราบเกี่ยวกับการ คำนวณต้นทุนแบบ ABC ว่าคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไรกับโครงการบ้านจัดสรรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบ้านจัดสรร -- ต้นทุนและประสิทธิผลth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนค่าก่อสร้างโครงการบ้านจัดสรรที่คำนวณต้นทุนแบบดั้งเดิมและแบบ ABC : กรณีศึกษาโครงการบ้านอิงเมือง อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeStudy of housing estate comparing of traditional costing system and activity based costing system : a case study of Engmuang Village Amphur Banchang Rayong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research is having the propose for (I) Study the general condition and accounting information of housing estate at Amphur Banchang, Rayong Province (2) To study the problems and the risks when the housing estate owner does not use the accounting information for calculation of Activity Based Costing System (3) Study the estimate cost of housing estate, Traditional Costing System, Activity Based Costing System of housing estate in Amphur Banchang, Rayong Province (4) To compare the estimate cost of housing estate, Traditional costing System and Activity Based Costing System. The population for this research is the 32 housing estate projects in Bangchang area, Rayong Province. The sample for this research is the questionnaire for all problems issue and the sample choosing houses that having inspection items, calculation of Traditional costing and Activity Based Costing System. Those questionnaires are for collecting of all construction cost information by using 2 construction houses to calculate Traditional costing and Activity Based Costing System. The results of this research is the housing estate in Banchang, Rayong Province are having the houses inside not are than 80 houses. Normally, there are almost the stand alone house and the owners are almost male which is over than 41 years, graduated vocational school and having experience 11-20 years for sample choosing house can not specify the wages for the construction after record of the Traditional costing. And also the construction material prices are high. For the house that have record of Activity Based Costing Systems, found that the construction costs in term of materials arc low and the calculation cost in term of wages can specify clearly in each activities. Also the total construction cost is lower that will make the calculation of Activity Based Costing System know the construction cost which is nearly the actual cost. In term of problem and risks that the housing estate owner does not use the accounting information, have been found that almost the housing estate owner do not know about the meaning of the calculation of Activity Based Costing System and also has benefit from this costing to use in the housing estateen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
96429.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons