Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจําเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุลภรณ์ อุทัยภานนท์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-20T08:03:51Z-
dc.date.available2023-07-20T08:03:51Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8036-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับของความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติ ปัจจัยด้านผู้บริหาร และปัจจัยด้านองค์การกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์และ (4) เสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ โดยการใช้แบบสอบถามซึ่งผานการทดสอบรวมทั้งการหาค่าความเที่ยงตรงจากผู้เชี่ยวชาญและวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นได้ของแบบสอบถามโดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ที่ระดับ .945 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรฝ่ ายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 4 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเพาะช่าง วิทยาเขตบพิตรพิมุขจักรวรรดิ วิทยาเขตศาลายา วิทยาเขตวังไกลกงวล ใช้การสุ่มตัวอย่าง อย่างง่ายกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จํานวน 214 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน และการวิเคราะห์ถดถอย ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก เช่นกัน (2) ปัจจัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับประสบการณ์การทํางานมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับตํ่ากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่วนเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ในขณะที่ปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยด้านผู้บริหารและปัจจัยด้านองค์การ มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง ที่ระดับนัยสําคัญ .05 (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เรียงตามลําดับความสําคัญคือ ด้านองค์การ ด้านผู้บริหาร ด้านผู้ปฏิบัติงาน และ (4) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้คือ องค์การควรให้ความสําคัญและมีความพร้อมด้านทรัพยากรต่างๆ ต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านการฝึกอบรม ด้านการศึกษาดูงาน โดยกระทําอย่างพอเพียง และเหมาะสม ผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการดําเนินการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบและความพึงพอใจในการพัฒนาตนเอง เพื่อสร้างความรู้สึกว่าบุคลากรเป็นส่วนหนึ่งของ องค์การและนําความรู้ ทักษะที่ได้รับจากการพัฒนามาใช้ในหน่วยงานให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์--การพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing human resource development of the Rajamangala University of Technology Rattanakosinen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to: (1) examine the level of opinions toward factors influencing human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin; (2) study the relationship between personal factors, operational officer factors, administrator factors, organizational factors and human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin; (3) factors influencing human resource development of the Rajamangala University of Technology Rattanakosin; and(4) recommend for better status on human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin. This research methodology was conducted by a survey research. The instrument used was a questionnaire in which the questions were tested to obtain appropriate validity value by the experts. The reliability analysis employed Alpha Coefficient method and the obtained result appeared at .945. The samples consisted of supportive personnel of 4 campuses of Rajamangala University of Technology Rattanakosin from namely, Pohchang Campus, Borpitpimuk Chakkawad Campus, Salaya Campus and Wangklaikangwon Campus. The sample group size classification employed Taro Yamane method. Totally, there were 214 samples. The statistical analysis employed frequency, percentage, mean and standard deviation, Chi – square test, Spearman correlation coefficient and regression analysis at significant value 0.05. The results revealed that: (1) an overview of level of opinions toward factors influencing human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin was at high level. Considered by each aspect, it was also at high level; (2) personal factor regarding work experiences had positive relationship at low level towards human resource development. Gender, age, educational level and income had no relationship with human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin. Whereas operational officer factors, administrator factors, organizational factors had positive relation at average level with human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin at the significance level at .05; (3) factors influencing human resource development of Rajamangala University of Technology Rattanakosin were organizational factors, administrator factors and operational officer factors respectively; and (4) recommendations of this study were the provision of training and field trip should be preparedness and foremost priority for human resource development. The administrators should offer opportunities to the personnel to give opinions and participate in human resource development process. This permission would be emotive to the personnel to be a part of the organization and resulted in effective performanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_142397.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons