Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorจำเนียร ชูช่วย, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-21T08:14:28Z-
dc.date.available2023-07-21T08:14:28Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8081en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของการใช้หลักสูตรกลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเทศบาลเพชรริทย์ (2) ประเมินกระบวนการของการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ และ (3) ประเมินผลผลิตของการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ ประชากรได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 5 คน ครูผู้สอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 14 คน และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ด้านปัจจัยเบื้องต้นได้แก่ เอกสารประกอบหลักสูตร ครูผู้สอน สื่อการสอน วัสดุอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก และงบประมาณ มีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนนักเรียนมีความคิดเห็นว่าสื่อการสอน วัสดุอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีความเหมาะสมระดับปานกลาง (2) ด้านกระบวนการได้แก่ การบริหารจัดการ การจัดการเรียนการ สอน การใช้สื่อและพัฒนาสื่อ และการวัดและประเมินผลมีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนนักเรียนมีความคิดเห็นว่า ด้านการใช้สื่อและพัฒนาสื่อ มีความเหมาะสมระดับปานกลาง และ (3) ด้านผลผลิตได้แก่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางวิทยาศาสตร์ มีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนนักเรียนมีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมระดับปานกลาง ซึ่งผลการประเมินทั้ง 3 ด้าน เป็นไป ตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--หลักสูตร--การประเมิน.th_TH
dc.titleการประเมินการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเทศบาลเพชรวิทย์ จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of curriculum implementation in the science learning area at the upper secondary level at Tessaban Phetcharawit School in Tak Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to evaluate the input for curriculum implementation; (2) to evaluate the process of curriculum implementation; and (3) to evaluate the output of curriculum implementation in the Science Learning Area at the upper secondary level at Tessaban Phetcharawit School in Tak province. The research population consisted of five school administrators, 14 science teachers at the upper secondary level, and 200 upper secondary students. The employed research instrument was a questionnaire. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research findings were (1) on the input comprising curriculum documents, teachers, instructional media, materials and facilities, and budget, the administrators and teachers had opinions that the input for curriculum implementation was appropriate at the high level; while students had opinions that it was appropriate at the moderate level; (2) on the process comprising management, instruction organization, media usage and development, and measurement and evaluation, the administrators and teachers had opinions that the process of curriculum implementation was appropriate at the high level; while students had opinions that it was appropriate at the moderate level; and (3) on the product comprising desirable scientific characteristics of the students, the administrators and teachers had opinions that the output of curriculum implementation was appropriate at the high level; while students had opinions that it was appropriate at the moderate level; evaluation results of the three components of curriculum implementation were in line with the determined criteria.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128680.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons