Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8102
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ,อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจมินทร์ สิริศรีวณิช, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-23T08:52:04Z-
dc.date.available2023-07-23T08:52:04Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8102-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของประชาชนที่สนใจอาศัยอพาร์ทเมนท์เขตบางคอแหลมกรุงเทพมหานคร (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มี ผลต่อระยะเวลาการเช่าอพาร์ทเมนท์ของประชาชนในเขตบางคอแหลม กรุ งเทพมหานคร และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับระยะเวลาการเช่าอพาร์ทเมนท์ของประชาชน ในเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจจากประชาชนที่อาศัยในเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ที่ไม่ทราบจำนวนแน่นอน คำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีของ W.G.Cochran (1977) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ทำการสุ่มด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงอนุมานใช้ การวิเคราะห์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ด้วยการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง มีสถานภาพโสด มีอายุระหว่าง 30-40 ปี อาชีพค้าขาย/ประกอบธุรกิจส่วนตัวและมีรายได้เฉลี่ยต่อ เดือน 20,000-25,000 บาท (2) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อระยะเวลา การเช่า อพาร์ตเมนท์ในภาพรวม พบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดทุกด้าน มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก ซึ่งด้านที่มีความสำคัญมากที่สุดคือ ด้านสภาพแวดล้อมของสถานที่และ ด้านที่ให้ความสำคัญน้อยที่สุดคือด้านสถานที่ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อ ระยะเวลาการเช่า อพาร์ทเมนท์ของประชาชนในเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านรูปแบบห้องพัก ด้านการส่งเสริมการตลาดและด้านขั้นตอนการบริการ มีความสัมพันธ์ทางบวกกบระยะเวลาในการเช่าอพาร์ทเมนท์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อยู่ใน ระดับค่อนข้างต่ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectที่อยู่อาศัย--การเช่าth_TH
dc.subjectที่อยู่อาศัย--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อระยะเวลาการเช่าอพาร์ทเมนท์ของประชาชนในเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factor influencing the relation of the apartment rental period of consumers in Bang Kho Laem, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were to study (1) the personal factors of people who interested to live in an apartment at Bang Kho Laem, Bangkok (2) the marketing mix factor levels which affected the apartment selection of consumers at Bang Kho Laem, Bangkok (3) the relation between marketing mix factors and apartment rental period of consumers at Bang Kho Laem, Bangkok. This study was survey research. The population was a people who lives at Bang Kho Laem, Bangkok. The sample size was 400 people which calculated by W.G.Cochran (1977). The sampling method was simple random sampling. This study gathered data by using a questionnaire. The statistic used to analyze data was a descriptive statistics by using frequency, percentages, and standard deviation (S.D). The inference statistics were employed to analyze the relation between Pearson Correlation Coefficient and Spearman Correlation Coefficient. The results from the study showed that (1) the majority of respondent’s personal factors was women with single status, age between 30 – 40 years old, merchandiser/ self-employed, monthly income between 20,000 – 25,000 baht (2) the overall analysis of marketing mix factor which relative to the rental period was the sampling group focusing on marketing mix factors in every parts at the high level moreover, the most important past was a location environment and the least important was the location (3) the marketing mix factor which affected the apartment selection of consumers at Bang Kho Laem, Bangkok had the relation with marketing mix factors in a part of the rental period, room type, marketing promotion and services although it had the positive correlation in the rental period with significant difference at 0.05 that was relatively at low levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148802.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons