กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8122
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิรินทร์ ธูปกล่ำ | th_TH |
dc.contributor.author | สายฝน ยิ่งวัฒนา, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-24T06:17:55Z | - |
dc.date.available | 2023-07-24T06:17:55Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8122 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อความพร้อมปัญหา แนวทางการพัฒนา (2) การเปรียบเทียบภาพรวม และ (3) ภาพรวมแนวโน้มความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการเกี่ยวกับเรื่องการจัดหางานตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของกรมการจัดหางาน ทั้งนี้ได้นำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซึ่งประกอบด้วย (1) หลักนิติธรรม (2) หลักคุณธรรม (3) หลักความโปร่งใส (4) หลักการมีส่วนร่วม (5) หลักความรับผิดชอบ และ (6) หลักความคุ้มค่า มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้การศึกษาครั้งนี้เป็นการการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบรวมทั้งผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ที่ระดับ 0.89 การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากข้าราชการดำเนินการระหว่างวันที่ 1-30 กันยายน 2549 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,080 คน คิดเป็นร้อยละ 89.04 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (1,213 คน) สำหรับค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า (1) กรมการจัดหางานมีความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการเกี่ยวกับเรื่องการจัดหางานตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีสูงและ (2) กรมการจัดหางานในปัจจุบันมีความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการเกี่ยวกับเรื่องการจัดหางานสูงกว่าบริบัษจัดหางานของภาคเอกชน พร้อมกันนั้น กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก ว่า ในภาพรวมกรมการจัดหางานมีความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการเกี่ยวกับเรื่องการจัดหางานของกรมการจัดหางานในปัจจุบันสูงกว่าในอดีต สำหรับข้อเสนอแนะที่สำคัญ เช่น กรมการจัดหางานควรให้ความสำคัญในการพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารบ้านเมืองที่ดีเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่อง ผู้บริหารของกรมการจัดหางานควรจัดแบ่งอำนาจหน้าที่ให้แก่หน่วยงานระดับล่าง ควรเพิ่มค่าตอบแทนและสวัสดิการให้บุคลากรระดับล่าง รวมทั้งควรเปิดโอกาสให้มีการควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานเพิ่มมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.292 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กรมการจัดหางาน--การบริหาร | th_TH |
dc.title | ความพร้อมในการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ของกรมการจัดหางาน | th_TH |
dc.title.alternative | Management administration readiness according to the good governance guideline of the Department of Employment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.292 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.292 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to study the opinions of the samples on readiness, Find problems, procedures of develop (2) to overview comparison, and (3) to overview trend of the 248 management administration readiness according to the good governance guideline of the Depart of Employment (DOE). The conceptual framework of the good governance consisted of 6 principles: (1) Rule of Law, (2) Morality, (3) Transparency, (4) Participation, (5) Responsibility, and (6) Value for Money was applied in this study. This research study was a survey research. Questionnaires were used for data collecting. The questionnaires were pretested and passed the validity and reliability checks of 0.89. The field data, collected from civil service, was collected during Scptcmbcrl-30, 2006, with the sampling amount of 1,080, making 89.04% of total samples (1,213). Statistics used for data analysis were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The study results indicated that the samples agreed at the medium level that(l) the management administration readiness according to the good governance guideline of DOE was high; and (2) the management administration readiness according to the good governance guideline of DOE at present was higher than other private employment companies. By the same time, the samples agreed at the high level that the overview management administration readiness according to the good governance guideline of DOE at present was higher than the past. For important suggestions, such as, DOE should give more significance to the development of management administration according to the good governance. Particularly, the executives of DOE should delegate their powers to their lower organizations; increase compensation and welfare to the lower operators, and give more opportunities of controlling and checking their performances. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วิรัช วิรัชนิภาวรรณ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Theses |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License