Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8124
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรทัย ประโลมจิตร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T07:17:16Z-
dc.date.available2023-07-24T07:17:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8124-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐในอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ 2) การวางแผนภาษีของผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐในอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการวางแผนภาษีอากรของผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐในอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐในอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 126 ราย กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 97 ราย โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซีและมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐที่เป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในระดับปานกลางขึ้นไป 2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 59.79 ยังไม่ได้วางแผนในการใช้ค่าลดหย่อนเพิ่มเติมในปีภาษีถัดไป ร้อยละ 50.52 การวางแผนเลือกวิธีการหักค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษีในปีภาษีถัดไป โดยร้อยละ 29.90 เลือกหักค่าใช้จ่ายตามจริงและตามสมควร และร้อยละ 20.62 เลือกหักค่าใช้จ่ายแบบอัตราเหมา 60% และ 3) ความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามีความสัมพันธ์กับการวางแผนภาษีในด้านการเลือกวิธีการหักค่าใช้จ่ายและด้านการเพิ่มค่าลดหย่อนในปีภาษีถัดไปของผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐในอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.subjectการวางแผนภาษีth_TH
dc.subjectผู้ประกอบการ--ภาษี.--ไทย--นครสวรรค์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการวางแผนภาษีของผู้ประกอบการร้านธงฟ้าประชารัฐในอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between personal income tax knowledge and tax planning of Thong Fan Pracharat Shop Entrepreneur in Nong Bua District Nakhon Sawan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this study were to study 1) the level of personal income tax knowledge of Thong Fah Pracharat Shop Entrepreneur in Nong Bua District, Nakhon Sawan Province; 2) the tax planning of Thong Fah Pracharat Shop Entrepreneur in Nong Bua District, Nakhon Sawan Province; and 3) the relationship between personal income tax knowledge and tax planning of Thong Fah Pracharat Shop Entrepreneur in Nong Bua District, Nakhon Sawan Province. The population of this survey research consisted of 126 Thong Fah Pracharath Shop Entrepreneurs in Nong Bua District,Nakhon Sawan Province. The sample of 97 Thong Fah Pracharath Shop Entrepreneur was determined by using the table of Krejcie and Morgan. A constructed questionnaire was used as a tool for collecting data. The statistics used for data analysis were frequency, percentage and Chi-Square test. The results revealed that 1) most of personal income tax knowledge of Thong Fah Pracharat Shop Entrepreneurs was above a moderate level; 2) most of the sample has not planned for additional exemption tax in the next year, 50.52% planned to choose the deduction of expenses scheme in the next year, 29.90% chose the deduction of the actual and reasonable expenses scheme, and 20.62% chose the deduction of 60% rate of assessable income; and 3) personal income tax knowledge of Thong Fah Pracharat Shop Entrepreneurs in Nong Bua District, Nakhon Sawan Province had relationship with tax planning for deduction of expenses scheme and additional exemption tax in the next year with a statistical significance at the level at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163302.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons