Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorโสภา แย้มทองคำ, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T08:41:46Z-
dc.date.available2023-07-24T08:41:46Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8140en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ปัญหา แนวทางการพัฒนา (2) การเปรียบเทียบภาพรวม และ (3) ภาพรวมแนวโน้มขีดความสามารถในการบริหารจัดการด้านการฝึกอบรมของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งนี้ได้นำกรอบแนวคิดที่เรียกว่า 6M รวม 6 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารจัดการงบประมาณ การบริหารจัดการทั่วไป การบริหารจัดการวัสดุอุปกรณ์ การบริหารจัดการคุณธรรม และการให้บริการแก่ผู้รับบริการ มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบรวมทั้งผ่านการทดสอบหาความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.83 การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามจากบุคลากรของสถาบันได้ดำเนินการระหว่างวันที่ 8 กรกฎาคม ถึงวันที่20 สิงหาคม 2549 ได้กลุ่มตัวอย่าง 972 คน คิดเป็นร้อยละ 86.20 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (1,128 คน) สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการปรากฏว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมาก ว่า (1) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการด้านการฝึกอบรม และ (2) ในภาพรวม ขีดความสามารถในการบริหารจัดการด้านการฝึกอบรมของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคตมีแนวโน้มสูงกว่าในปัจจุบัน นอกจากนี้ควรนำกรอบแนวคิด 6M ไปปรับใช้ในการศึกษาวิจัยในอนาคตด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.280en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--การบริหารth_TH
dc.titleความคิดเห็นต่อปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการ ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)th_TH
dc.title.alternativeOpinions on problems and improvement of management administration of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.280-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.280en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research purposes were (1) to study the opinions of samples on capabilities, problems, procedures to development (2) to overview comparison and (3) to overview trends of the management administration capabilities of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST). The conceptual framework of 6M: Man, Money, Management, Material, Morality, and Market was applied to this study. This study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were pretest and checked for validity and reliability of 0.83. Filed data was collected from IPST officers between August8, to September20 2006 with the sampling amount of 972, making 86.20% of total samples (1,128). Statistics employed were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that the samples agreed at the high level that (1) the management administration capabilities in terms of training of the (IPST) were high; and (2) the overview management administration capacities in terms of training of the (IPST) in the future tend to higher than the present time. In addition, the conceptual framework of 6M should be employed to the future research.en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกล่ำth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98039.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons