Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8157
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปภาวคี มนตรีวัด | th_TH |
dc.contributor.author | ประวิช การะนนท์, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-25T04:46:27Z | - |
dc.date.available | 2023-07-25T04:46:27Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8157 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นของผู้บริหารและบุคลากรเกี่ยวกับการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี (2) ความคิดเห็นของผู้บริหารและบุคลากรเกี่ยวกับข้อดีและปัญหาของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี และ (3) เสนอแนะแนวทางกึ่งส่งเสริมการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประชากรทั้งหมด ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และพนักงานส่วนตำบล ทั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำ ที่ปฏิบัติงานอยู่องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี 20 องค์กร จำนวน 264 คน โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการศึกษา มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.912 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) การนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติ ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบัานหมี่ จังหวัดลพบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ความคิดเห็นด้านคุณธรรมของหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ได้แก่ หลักการมีส่วนร่วม ส่วนด้านหลักความคุ้มค่า มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่าการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติ มีข้อดีในระดับมาก โดยเฉพาะจะทำให้องค์กรบรรลุวัถุประสงค์และเป้าหมายและก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนและสังคม ปัญหาการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติ ได้แก่ บุคลากรขององค์กรขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่คี รองลงมา ได้แก่ องค์กรมีงบประมาณดำเนินการอย่างจำกัด และส่วนโครงสร้างระบบงานและอำนายหน้าที่ไม่เอื้อต่อการบริหารจัดการให้บรรลุเป้าหมาย และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติ ได้แก่ ผู้บริหารควรส่งสริมให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีทัศนดติ และค่านิยม ยอมรับแนวคิดใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ตลอดจนสร้างความรู้ความเข้าใจหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณให้องค์กรเพิ่มขึ้นกว่าเดิม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--ลพบุรี | th_TH |
dc.title | การนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Implementation of good governace principles of Sub-district Administrative Organizations in Banmee District, Lopburi Province | en_US |
dc.type | th | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_124291.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License