Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดาราวรรณ ล๊อตเยอร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-25T07:03:05Z-
dc.date.available2023-07-25T07:03:05Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8168-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะการทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติ (2) ระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติ (3) คุณลักษณะการทำงานเป็นทีมด้านต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติ (4) ปัญหาและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะการทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ ข้าราชการในสำนักข่าวกรองแห่งชาติ รวม 407 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 202 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีชั้นภูมิแบ่งสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และกลุ่มที่สอง ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการส่วนจำนวน 3 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะการทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติในภาพรวมอยู่ในระดับสูงที่สุด โดยประสิทธิผลด้านการบูรณาการมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร และค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการ ตามลำดับ (3) คุณลักษณะการทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ได้แก่ การกำหนดบทบาทของสมาชิกอย่างสมดุลและชัดเจน การพัฒนาตนเอง และการติดต่อสื่อสารที่ดี สมการพยากรณ์ความมีอิทธิพลต่อกัน สามารถพยากรณ์ทำนายได้ร้อยละ 73.5 (4) ปัญหาที่พบ คือ ประการแรก บุคลากรส่วนใหญ่ต้องการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะคือ หน่วยงานควรเสริมสร้างองค์ความรู้ที่จำเป็นและทันสมัยกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงให้แก่บุคลากรอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงลึกและสร้างการเรียนรู้ให้แก่บุคลากร ประการที่สอง สมาชิกของทีมมีส่วนร่วมในการวางแผนงานและการตัดสินใจเรื่องต่างๆ ค่อนข้างน้อย ข้อเสนอแนะ คือ หน่วยงานควรเปิดโอกาสให้สมาชิกในทีมร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ในการวางแผนการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth_TH
dc.subjectประสิทธิผลองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleคุณลักษณะการทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักข่าวกรองแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeTeam working characteristics affecting the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agencyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study level of opinions regarding the team working characteristics affecting the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agency (2) to study level of effectiveness of the team working characteristics affecting the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agency (3) to study the team working characteristics that affect the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agency, and (4) to study problems and to recommend guidelines on the development of team working characteristics affecting the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agency. This study was a survey research. The studied population was divided into 2 groups. The first group was 407 government officials of the National Intelligence Agency for the quantitative research. The size was determined by using the Taro Yamane formula and obtained 202 samples by stratified random sampling method. Research tool was a questionnaire. The second group was done through purposive sampling method and selected 3 directors for in-depth interview. The research tool was a structured interview form. The statistics for data analysis used frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis The results of the study showed that (1) an overview level of opinions regarding the team working characteristics affecting the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agency was at the highest level. (2) An overview level of the effectiveness of team working characteristics affecting the operational effectiveness of personnel of the National Intelligence Agency. It was found that integration aspect was the highest mean, followed by the cost-effectiveness of resources. And the lowest mean was the satisfaction of the service recipients, respectively. (3) The teamwork characteristics that affected the operational effectiveness of the personnel of the National Intelligence Agency at statistically significance level of 0.05, namely, balanced and clear determination of the roles of members, self-development and good communication. The predictive equations influence each other can predict 73.5 percent. (4) The problems found were that the personnel needs new knowledge to apply in their work. The recommendation was that, firstly, the organization should regularly provide personnel with necessary and up-to-date knowledge in the changing context, develop an in-depth information system and create learning for the personnel. Secondly, the team members were rarely involved in planning and making decisions. The recommendation was that the organization should allow team members to participate and make decisions in planning and work processen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
164026.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons