Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8171
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอามิตา ซอสูงเนิน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-25T07:19:47Z-
dc.date.available2023-07-25T07:19:47Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8171-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีต่อการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงาน (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงาน (3) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่สัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงาน และ (4) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงานการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ผู้หญิงวัยทำงานที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย ที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอแครน ได้ 384 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามทางออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30-39 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ 15,001 - 25,000 บาทต่อเดือน และมีสถานภาพโสด (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการจัดจำหน่ายอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ (3) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงาน ในทิศทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ (4) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่สามารถร่วมกันทำนายการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีจำนวน 3 ปัจจัย โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด และปัจจัยด้านราคา ตามลำดับ ส่วนปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย ไม่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊กของผู้หญิงวัยทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectชุดชั้นใน--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อชุดชั้นในผ่านเฟซบุ๊ก ของผู้หญิงวัยทำงานth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting the decision to purchase underwear via facebook of working womenth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to study (1) demographic factors affecting the decision to purchase underwear via Facebook of working women (2) marketing mix factors affecting the decision to purchase underwear via Facebook of working women (3) demographic factors related to the decision to purchase underwear via Facebook of working women, and (4) marketing mix factors affecting the decision to purchase underwear via Facebook of working women. This study was a quantitative research. The population was working women who aged from 20 years and above, and lived in Thailand. The exact population size was unknown. Sample size was calculated using Cochran formula which was 384 people. The Sampling method used convenience sampling technique. The Instrument used for collecting data were online questionnaires. The statistics used for analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Spearman's correlation coefficients and multiple regression analysis. The results of the study revealed that (1) Most of the samples were aged between 30-39 years, graduated with a bachelor's degree, worked with a private company, average income 15,001 - 25,000 baht per month and single status. (2) Marketing mix factors affecting the decision to purchase underwear via Facebook of working women was at a high level. When considering each aspect, it was found that Place was in the highest level, followed by Price, Promotion, and Product. (3) Demographic factors like education level and average income were correlated with the decision to purchase underwear via Facebook of working women in a positive direction, which was statistically significant at 0.01 level. (4) Marketing mix factors which predicted the decision to purchase underwear via Facebook of working women were statistically significance at 0.05. In descending order of statistical significance, there were three predictors in this study: Product, Promotion and Price. However, Place was not influenced on the decision to purchase underwear via Facebook of working womenen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
164027.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons