Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวราภรณ์ คำปาเชื้อ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T03:02:44Z-
dc.date.available2023-07-26T03:02:44Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8206-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุดลากรเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลาง (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลาง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนวทางในการส่งเสริมการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลางกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่ปฏิบัติงานในสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลาง จำนวน 254 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 935 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาลของสำนักงาน ศาลปกครองในส่วนกลางในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านหลักดวามคุ้มค่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงสุด ในขณะที่ด้านหลักการมีส่วนร่วมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับน้อยสุด (2) การเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกตรองในส่วนกลางไม่แตกต่างกัน แต่บุคลากรที่มีอายุราชการต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลาง แตกต่างกัน (3) แนวทางในการเสริมสร้างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลาง คือผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้บุคลากรในองค์กรได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหน่วยงานทั้งทางตรง และทางอ้อมด้วยความจริงใจ รับฟังความคิดเห็นของบุคลากร และปฏิบัติต่อบุคลากรทุกระดับด้วยความเสมอภาค อีกทั้งให้บุคลากรได้รับทราบหลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง โยกย้าย และการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยให้ใช้หลักเกณฑ์ ที่มีคุณธรรม จัดทำในรูปคณะกรรมการเพื่อร่วมกันพิจารณา และเผยแพร่ข่าวสารให้ทราบ โดยทั่วกัน นอกจากนั้น ควรปลูกฝังและรณรงค์ให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับตระหนักถึงงานที่ได้รับมอบหมายและรับผิดชอบในผลการกระทำของตน ปฏิบัติหน้ที่อย่งเต็มดวามสามารถ ยึดประ โยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ส่งเสริมให้บุคลากรเห็นคุณค่าของทรัพยากรที่มีอยู่และใช้อย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงมีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานศาลปกครอง--การบริหารth_TH
dc.subjectธรรมรัฐth_TH
dc.titleการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานศาลปกครองในส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeThe administration according to good governance principles of the Office of the Administrative Courts in central areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_127353.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons