Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมบัติ พรมจารี, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-26T04:12:31Z-
dc.date.available2023-07-26T04:12:31Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8229-
dc.description.abstractการศึกษากันคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบวิธีการ จัดตารางการผลิตแบบ เป็นรุ่นกับวิธีการจัดตารางการผลิตแบบครั้งละ 1 ชิ้น โดยดูจากระยะเวลาการผลิตและเวลารวมที่ใช้ในการ ผลิตทั้งหมดต่อหน่วย วิธีการดำเนินการศึกษาใช้วิธีทดลองโดยนำกลุ่มตัวอย่างได้แก่ โครงการผลิต โครงสร้าง โลหะเครื่องจักรกลตามคำสั่งซื้อของลูกค้าจำนวน 8 โครงการ จาก 5 หน่วยงานการผลิต เป็นการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง ทำการจัดตารางการผลิตออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ การผลิตแบบเป็นรุ่น และการผลิต แบบครั้งละ 1 ขึ้น เก็บรวบรวมรายละเอียดข้อมูลที่สำคัญต่อการวิเคราะห์ จากใบรายงานการทำงาน ประจำวันของพนักงานทั้งหมดจากเริ่มโครงการนสิ้นสุดโครงการระหว่างวันที่ 4 มกราคม 2553 จนถึง 1 กันยายน 2553 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ความถี่ และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า การจัดตารางการผลิตแบบเป็นรุ่นใช้ระยะเวลาในการผลิตเท่ากับ 42.5 วัน และเวลารวมที่ใช้ในการผลิตทั้งหมดต่อหน่วย เท่ากับ 859.5 ชั่วโมง ส่วนการจัดตารางการผลิตแบบครั้ง ละ 1 ชิ้น ใช้ระยะเวลาการผลิตเท่ากับ 36.5 วัน และเวลารวมที่ใช้ในการผลิตทั้งหมดต่อหน่วย เท่ากับ 947.75 ชั่วโมง การจัดตารางการผลิตแบบเป็นรุ่นใช้เวลาในการทำงานเฉลี่ยต่อโครงการต่ำกว่าการจัด ตารางการผลิตแบบครั้งละ 1 ชิ้น ประมาณ ร้อยละ9.5 แต่เวลารวมเวลาในการผลิตแบบเป็นรุ่นจะใช้เวลาใน การผลิตที่ยาวนานกว่า ทำให้มีงานระหว่างทำในกระบวนการสูงกว่าการจัดตารางการผลิตแบบ ครั้งละ 1 ชิ้นเท่ากับร้อยละ 14 และมีระยะเวลาในการส่งมอบที่ยาวนานกว่าเท่ากับร้อยละ 16 โดยสรุปแล้วควรจะ เลือกใช้ตารางการผลิตแบบเป็นรุ่นจึงจะส่งผลดีต่อบริษัท ไดเฮน อิเล็กทริก เนื่องจากใช้ชั่วโมงการผลิต รวมที่น้อยกว่าการผลิตครั้งละ 1 ชิ้น แต่ข้อควรระวังในการผลิตแบบเป็นรุ่น คือ ระยะเวลาการผลิตที่ ยาวนานกว่าอาจกระทบถึงกำหนดการส่งมอบของแต่ละโครงการ ข้อพิจารณาการจัดตารางการผลิตของ บริษัทไดเฮน อิเล็กทริก คือ การนำกำหนดการส่งมอบมาเป็นเงื่อนไขของการเลือกรูปแบบในการจัดตาราง การผลิตด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทไดเฮน อิเล็กทริก--การจัดการth_TH
dc.subjectเครื่องจักรกล--การผลิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการกำหนดตารางการผลิตโครงสร้างโลหะเครื่องจักรกลที่ทำการผลิตแบบเป็นรุ่นและแบบครั้งละหนึ่งชิ้นของบริษัทไดเฮน อิเล็กทริก จำกัดth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of metal structure machine production between batch and one piece scheduling of Daihen Electric Co., Ltd.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124264.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons