Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/822
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอุทัย อาทิเวช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญสวัสดิ์ ชวลิตกุล, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T06:10:20Z-
dc.date.available2022-08-20T06:10:20Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/822-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องระบบและอํานาจหน้าที่ของผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและ ครอบครัวในการพิจารณาคดีอาญามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักการแนวคิด และเจตนารมณ์ ของการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและการใช้ระบบผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและ ครอบครัว 2) เพื่อศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับศาลเยาวชนและครอบครัวและผู้พิพากษาสมทบศาล เยาวชนและครอบครัวในประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบผู้พิพากษาสมทบและอำนาจหน้าที่ ของผู้พิพากษาสมทบของศาลเยาวชนและครอบครัวในประเทศไทยกับกฎหมายของต่างประเทศ 4) เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับระบบผู้พิพากษาสมทบและอำนาจหน้าที่่ในการพิจารณาคดีของผู้พิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัว ให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ตามเจตนารมณ์และเป้าหมายของศาลมากยิ่งขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการค้นคว้ารวบรวมเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นตำรา บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย รวมทั้งตัวบทกฎหมายทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ผลการวิจัยพบว่า พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดี เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มิได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาสมทบไว้อย่างละเอียด รวมทั้งมิได้กำหนดคุณสมบัติของผู้พิพากษาสมทบให้ครบถ้วนสมบูรณ์ในเรื่องของอายุและวาระการดำรงตำแหน่ง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องแก้ไขพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวนี้ในเรื่องของการกำหนดอายุและวาระในการดำรงตำแหน่งและให้ผู้พิพากษาสมทบมีอํานาจหน้าที่อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นน เช่น ให้มีหน้าที่ในการการรับรายงานตัวเด็กและเยาวชนระหว่างคุมประพฤติการให้คําปรึกษาแนะนําการ แก้ไขบําบัด ฟื้นฟูต ลอดจนการสงเคราะห์อบรมและดูแลเด็กและเยาวชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.372en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้พิพากษาth_TH
dc.titleระบบและอำนาจหน้าที่ของผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัวในการพิจารณาคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeSystem and the authority of the juvenile and family court lay judge in a criminal trialth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.372en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims: 1) to study the principles, concepts and ideologies of the establishment of Juvenile and Family Court, and the use of lay judge of the Juvenile and Family Court 2) to study the Law on Juvenile and Family Court and Lay Judges of Juvenile and Family Court in Thailand 3) to study and compare the system and authority of the Juvenile and Family Court lay judge in Thailand and the foreign law 4) to find a suitable approach to improve the law about the lay judge and authority in the trial of Juvenile and Family Court . To be effective in the performance of duties by the spirit and aims of the court even more. This research is qualitative research. By gathering all relevant documents. Whether it is textbooks, technical papers, thesis, thematic papers, research papers, including the law, both Thailand and a foreign language. The research revealed that the Juvenile and Family Court and Procedure for the Juvenile And Family Court Act B.E. 2553 does not define the authority of the lay judge in detail. Nor are the property of lay judge complete in terms of age and tenure, so it's necessary to modify the Act mentioned in terms of the age and term of office, and the lay judge has the authority to more clearly as well. For example. A duty to report to the juvenile during probation. Counseling fix the rehabilitation and relief. Training, and caring for children and youthen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib138790.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons