Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิมล บุญรอด, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T01:32:06Z-
dc.date.available2023-07-27T01:32:06Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8257-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดในเขตภาคใต้ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของ บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดในเขตภาคใต้ (3) เสนอแนะการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การ บริหารส่วนจังหวัดให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มสูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยประชากรที่ศึกษาเป็นบุคลากรขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัดในเขตภาคใต้และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานประจำอยู่ใน องค์การบริหารส่วนจังหวัดเขตจังหวัดภาคใต้ รวม 11 จังหวัด คือ ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 176 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 60 คน และพนักงานจ้าง จำนวน 105 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 341คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วน จังหวัดในเขตภาคใต้ อยู่ในระดับสำเร็จมากกว่าร้อยละ 70 โดยได้ค่าจากการทดสอบ Significance < .05 และค่า t > 0 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับ ระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของบุคลากร พบว่า ปัจจัยเที่ยวกับสมรรถนะ และปัจจัยจูงใจ มี ความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดในเขต ภาคใต้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพิ่มสูงขึ้น คือ ผู้บริหารจะต้องส่งเสริมให้มีการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในหน่วยงาน ยกระดับทักษะและ ความสามารถของบุคลากรในองค์กรให้อยู่ในระดับที่จะสร้างผลงานให้สอดคล้องและบรรลุวัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ที่วางไวั รวมทั้ง สร้างขวัญและกำลังใจที่ดีให้แก่บุคลากรในหน่วยงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัด -- ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนจังหวัดในเขตภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing achievement of the local government organizations officer : a case study of Southern Provincial Administrative Organizationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the achievement of the Provincial Administrative Organization (PAO) officers in southern provinces (2) study the factors influencing the achievement and (3) recommend appropriate suggestion for more efficiency and effectiveness. The study was a survey research. Population was PAO officers in southern provinces, samples were 341 personnel working in 11 PAOs consisted of 176 PAO officers, 60 permanent employees, and 105 contract employees. Instrument used was questionnaire, with .93 validity tested. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test and stepwise regression analysis. The research findings showed that (1) achievement of the Provincial Administrative Organization officers was higher than 70% at < 0.05 level of significance and > 01 value (2) both competency and motivation factors were significantly related positively with the achievement at 0.05. It was recommended that in order to increase efficiency and effectiveness of PAOs operation, the management should support the development of personnel competency, so to raise their skill and ability which would enable them to perform more efficiently with performance that aligned with organization strategy and goal. Personnel morale should be emphasized and increased so they would be more motivated to performen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98043.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons