Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปานใจ เพ็ชรรัตนมณี, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T06:33:14Z-
dc.date.available2023-07-27T06:33:14Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8284-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับความพร้อมและประสิทธิผลขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน (2) ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการปฏิบัติงาน การศึกษาวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงประเมินและการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คือ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นใน 4 จังหวัดภาคกลางตอนบน ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ จังหวัดอ่างทอง โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 182 แห่ง ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 ประเภท ประกอบด้วย องค์การ บริหารส่วนจังหวัดจำนวน 2 แห่ง เทศบาล จำนวน 33 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 147 แห่ง เครื่องมีอที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กำหนดให้ผู้ให้ข้อมูลที่ตอบแบบสอบถามโดยใช้วิธีเลือกตอบแบบเจาะจงเป็นปลัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์การถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท ไม่มีความแตกต่างกันในระดับความพร้อมของ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และมีความพร้อมในระดับปานกลาง (2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทไม่มีความแตกต่างกันในระดับประสิทธิผลของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ ในการปฏิบัติงาน ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และมีประสิทธิผลในระดับมาก (3) มีตัวแปรอิสระที่สามารถอธิบายถึงปัจจัย ที่มีอทธิพลต่อประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานจำนวน 4 ตัวแปร เรียงลำดับตัวแปรอิสระที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลมากที่สุด ได้แก่ ตัวแปรด้านหน่วยงานและระบบการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวแปรด้านความพร้อมของบุคลากร ตัวแปรด้านการอ่านวยการของผู้บริหาร และตัวแปรด้าน ความชัดเจนของแผนงานและโครงการ ชึ่งโดยรวมสามารถนำมาอธิบายตัวแปรตามได้ประมาณร้อยละ 36 ณ ระดับนัยสำคัญ ทางสถิติที่ .05 จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการปฏิบัติงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเพื่อให้บรรลุต่อประสิทธิผล คือ ควรจัดตั้งหน่วยงาน คณะทำงาน ศูนย์หรือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมี หน้าที่รับผิดชอบในการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรกำหนดกรอบอัตรากำลัง ขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่นโดยเพิ่มตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์เข้าไว้ในแผนอัตรากำลัง นอกจากนี้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นควรส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการฝึกอบรม หรือให้ทุนการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่องและ สมํ่าเสมอ ผู้บริหารควรตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน และ องค์กรปกกรองส่วนท้องถิ่นควรมีการนำแผนงาน/โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาทบทวนเป็นระยะๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.190en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศth_TH
dc.titleประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน : ศึกษาเฉพาะกรณี กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of local administrative organization to operate information technology : a case study of upper central provincial clusterth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study and compare the degree of readiness and effectiveness of each local administrative organization implements information technology; and (2) to study the factors that affect to the effectiveness of implementing information technology in local administrative organization. The methodology applied in this study were evaluation and survey researches. The populations are 334 obtained from different local administrative organizations in 4 provinces in the upper central provincial cluster - Nonthaburi, Prathumthani, Pra Nakhon Si Ayutthaya and Angthong. The 182 samples of operation composed of 2 provincial administrative organizations, 33 of municipalities and 147 of subdistrict administrative organizations. The research instrument used in this study was questionnaire sent to clerk of local administrative organization. The statistical analyses were conducted by Statistical Package Program comprised of frequency, percentage, means, standard deviation, analysis of variance: One-Way ANOVA and stepwise regression analysis. The results were found that (1) the indifferences among the local administrative organizations to implement information technology in readiness was significantly 0.05 and local administrative organization had moderately readiness; (2) the effectiveness, the indifference was significantly 0.05 and local administrative organization had highly effectiveness; and (3) there are 4 independent variables that affected the effectiveness as follows from the most affecting: organizations and management, readiness of personnel, directs and supports from executives and clarification of plans and projects. These could explained the dependent variables of 36 % with the statistical significantly of 0.05 The suggestion of this study were to set up IT department or appoint committee to manage information technology and to set up the programmer official position in manpower scheme, to support train or provide scholarship to staff in information technology continuously and constantly, executive should aware of importance to the implements information technology and local administrative organization should review plan and project of information technology continuouslyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98090.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons