กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8300
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราธิป ศรีราม | th_TH |
dc.contributor.author | ทรงเกียรติ เชาวน์โอภาส, 2501- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-27T08:16:38Z | - |
dc.date.available | 2023-07-27T08:16:38Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8300 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการรับโอนภารกิจด้านการศึกษา (2) ศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาในการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบล (3) ศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหาการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาและแนวทางการพัฒนาความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการรองรับภารกิจด้านการศึกษาประชากรในการวิจัย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 18 แห่ง กลุ่มตัวอย่างได้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลที่มีรายได้มากทึ่สุด จำนวน 3 แห่ง เครื่องมือทื่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสำรวจ แบบสัมภาษณ์ และแบบโครงสร้างการสนทนา กลุ่ม การวิเคราะพ์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา การวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์สรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีรายได้เพียงพอในการจัดการศึกษา แต่ยังมีความพร้อมไม่เพียงพอตามเกณฑ์ประเมินความพร้อม เนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลไม่มีแผนกลยุทธ์เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษา ไม่มีรูปแบบวิธีการบริหารและการจัดการศึกษา และจัดสรรรายได้เพื่อการศึกษาน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ปัญหาสำคัญในการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษา จึงมีสาเหตุหลักมาจากการขาดการเตรียมความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลเอง ซึ่งส่งผลให้องค์การบริหารส่วนตำบลขาดความพร้อมทั้งในด้านการบริหารจัดการ ด้านบุคลากร และด้านงบประมาณ แนวทางการพัฒนาความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการรองรับภารกิจด้านการศึกษา คือการเตรียมการในทุกด้านอย่างจริงจัง โดยกำหนดเป็นนโยบายขององค์การบริหารส่วนตำบล จัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษา จัดโครงสร้างและพัฒนาบุคลากร รวมทั้งปรับปรุงด้านการจัดสรรงบประมาณ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.107 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--เพชรบุรี | th_TH |
dc.subject | การถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษา | th_TH |
dc.title | ปัญหาการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Problems in transferring educational duties to Subdistrict Administrative Organizations in Mueang District, Phetchaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.107 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.107 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to (1) study the readiness of Subdistrict Administrative Organizations (SAOs) for the educational transferred duties (2) study problems and causes of problems in transferring educational duties to SAOs (3) study the ways to solve the problems and recommend appropriate approaches to develop the readiness of SAOs for the educational duties. The population was 18 SAOs in Mueang District Phetchaburi Province. The samples consisted of 3 SAOs whose revenues were highest. The instruments used were survey form, interview form and focus group structure. Data were analyzed by using descriptive analysis, content analysis and inductive analysis. The study revealed that SAOs had enough revenues for the educational administration whereas the readiness for the educational transferred duties was inadequate according to the readiness evaluation criterias because they did not have strategic plan of preparation for educational administration, did not have any practical approach for educational administration and distributed less budget for education. The main cause of major problems was the lack of preparation for the educational transfer that made SAOs lacked of readiness for educational administration, personnel and budget. The recommended approaches to develop the readiness of SAOs for the educational duties were the serious preparations for all aspects; establish the SAOs’ policies and strategic plans of preparation for educational administration; develop the organization structure, human resources as well as the budget allocation. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Theses |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License