Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8311
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ญดา บุญเจริญ, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-29T06:31:04Z | - |
dc.date.available | 2023-07-29T06:31:04Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8311 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อยาของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง และ (2) หาความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดของร้านขายยาแผนปัจจุบันตามความคิดเห็นของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ประชากรคือ ผู้บริโภคที่เคยใช้บริการร้านขายยาแผนปัจจุบันที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป และอาศัยอยู่ในอำเภอเมืองจังหวัดตรัง กำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่าง 400 คน โดยใช้วิธีการเลือก ตัวอย่างแบบตามความสะดวกใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ 25-34 ปีการ ศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีรายได้ 10,001-20,000 บาทต่อเดือน เคยซื้อสินค้าประเภทยารักษาโรคมากที่สุด ค่าใช้จ่ายในการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบันเฉลี่ย ต่อครั้ง เป็นจำนวนเงิน 100-250 บาท มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการรักษาโรคหรือป้องกันโรคจากการเจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุ โดยส่วนใหญ่ซื้อใช้เองและมีการตัดสินใจในการเลือกร้านขายยาด้วยตนเอง และใช้บริการจากร้านขายยาในวันจันทร์–ศุกร์ เวลา 19.01-21.00 น. บริเวณใกล้ที่พักอาศัย โดยซื้อยาจากร้านขายยาร้านเดิมที่เคยซื้อและอาจจะแนะนำให้บุคคลอื่นเลือกใช้บริการจากร้านขายยา ร้านเดิมที่เคยไปใช้บริการด้วย และ (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดพบว่า ปัจจัยที่มีความสำคัญมากที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์โดยจะคำนึงถึงคุณภาพของยา การให้คำแนะนำ ปรึกษาเกี่ยวกับการใช้ยา โดยเภสัชกรและการมีเภสัชกรประจำร้านตลอดเวลา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ร้านขายยา | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การตลาด | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบันของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง | th_TH |
dc.title.alternative | Drug purchasing behavior from drug store consumers in Trang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the independent study were: (1) to study drug purchasing behavior of consumers in Muang District, Trang Province; and (2) to find the importance of marketing mix factors of drugstore as perceived by the consumers in Muang District, Trang Province. Population was the customers who had bought drugs from drugstore more than 15 years old and lived in Muang District, Trang Province. The samples were 400 customers by convenient sampling people. The data were collected from questionnaires. Then, the data was analyzed by descriptive statistics comprising frequency, percentage, mean, and S.D. The result of this study revealed that: (1) most of customers were single female, aged between 25-34 years old, with bachelor degree. They were government officials and earned 10,001-20,000 baht per month. Most of them bought the medicine for curing. The customers spent 100-250 baht per purchasing in drugstores as preventative medicine, medicine for curing, accident, and wounds for themselves. They made decision themselves and used the service from drug stores on Monday to Friday during 7:01-9:00 pm. near their home. Most of them purchased drug from on the known drugstores and recommend the drug stores to their friends; and (2) the marketing mix factors affecting drug purchasing behavior at the highest level were the quality of the medicine, the consultation services, consulting of drug use by pharmacists, and available pharmacist in the drugstore | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_128309.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License