Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
dc.contributor.authorปิยดุล สุขโข, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-29T07:34:29Z-
dc.date.available2023-07-29T07:34:29Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8312en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดทำสมรรถนะกลุ่มงานของข้าราชการในสังกัด สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน (2) ประเมินสมรรถนะกลุ่มงานของ ข้าราชการในสังกัด สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะ กลุ่มงานของข้าราชการในสังกัด สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ส่วนที่เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้กลุ่มประชากรเป็น ผู้บริหารสำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน จำนวนรวม 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์เป็นคำถามปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลจากการวิเคราะห์เนื้อหา และส่วนที่เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้กลุ่มประชากรเป็นข้าราชการในสังกัดสำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน (ไม่ใช่กลุ่มผู้บริหาร) จำนวนรวม 72 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะกลุ่มงานของข้าราชการในสังกัด สำนักวิจัยและพัฒนากรมชลประทาน ประกอบด้วยสมรรถนะ 5 ด้าน คือ ด้านการมองภาพองค์รวม ด้านความยืดหยุ่น ผ่อนปรน ด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ ด้านการสืบเสาะหาข้อมูล ด้านการคิดวิเคราะห์ (2) สมรรถนะกลุ่มงานของข้าราชการในสังกัด สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง (3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะกลุ่มงานของ ข้าราชการในสังกัด สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน ได้แก่ ควรจัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อให้ ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ควรจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรจัดให้มีการสร้าง บรรยากาศในที่ทำงานเพื่อจูงใจให้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ และควรจัดให้มีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักวิจัยและพัฒนากรมชลประทาน--ข้าราชการ--การประเมินth_TH
dc.subjectสมรรถนะ--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการประเมินสมรรถนะกลุ่มงานของข้าราชการในสังกัดสำนักวิจัยและพัฒนากรมชลประทานth_TH
dc.title.alternativeFunctional competency evaluation of government official in office of Research and Development Royal Irrigation Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were to (1)develop the functional competencies of government officers in Office of Research and Development, Royal Irrigation Department; (2) assess the functional competencies of the government officers in Office of Research and Development, Royal Irrigation Department ; and (3) study the approach to improve the functional competencies of the government officers in Office of Research and Development, Royal Irrigation Department Population in the qualitative part of this study consisted 10 executives of Office of Research and Development, Royal Irrigation Department. Instrument used was interview. Content analysis was applied to analyze the data collected. As for quantitative part, population consisted 72 officers of Office of Research and Development, Royal Irrigation Department. Instrument employed was questionnaire. Descriptive statistics was used in data analysis. The study result indicated that (1) five competencies included in functional competencies were conceptual thinking, flexibility, expertise, information seeking, and analytical thinking, (2) in general, officers in Office of Research and Development, Royal Irrigation Department were found to have all 5 competencies in medium level (3) appropriate approach to improve the competencies of officers in Office of Research and Development were : officers should be provided with training particularly in knowledge and skills required by their jobs, knowledge exchange activities should be arranged, together with the enhancing of positive work environment so to encourage creative thinking, and finally, workshop should be deemed necessity as another effective tool to improve the officers’ competencies as well.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128329.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons