Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorยุวดี ไชยศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนวรัตน์ กิ่งอรุณชัย, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T06:47:41Z-
dc.date.available2023-08-03T06:47:41Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8395-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนรวมตรา สารทุน (2) เปรียบเทียบผลตอบแทนจากการลงทุนของกองทุนแต่ละกองทุน และ (3) วิเคราะห์ นโยบายการลงทุนของกองทุนรวมตราสารทุนในประเทศไทย กองทุนรวมที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ กองทุนเปิดตราสารทุนจำนวน 71 กองทุน ที่ ดำเนินการโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมจำนวน 11 บริษัท ระยะเวลาที่ทำการวิจัย คือ ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2544 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2547 การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของกองทุน ใช้ดัชนีชาร์ป ดัชนีเทรเนอร์ และดัชนีเจนเซน ส่วนการเปรียบเทียบผลตอบแทนของแต่ละกองทุน พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และวิเคราะห์นโยบายการลงทุนของกองทุน จากข้อมูลรายละเอียดการลงทุนของกองทุน ผลการวิจัยพบว่า (1) ในภาพรวม กองทุนรวมตราสารทุนดำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ดี คือ ให้ผลตอบแทนสูงกว่าผลตอบแทนตลาดตลอดระยะเวลาที่ทำการวิจัย ยกเว้นปี 2544 ที่ผลตอบแทน ของกองทุนรวมตํ่ากว่าผลตอบแทนตลาด กองทุนที่ให้ผลตอบแทนอยู่ในลำดับที่ 1 ถึง 3 ของแต่ละ ปี คือ กองทุน ABG, STK. RKF2, RKF3, AYFSCAP, AYFSTECH, B-INFRA, INGTEF, KPLUS2, TISCOEDF, SCDF และ BKA ส่วนกองทุนที่มีผลการดำเนินงานเป็นอันดับสุดท้ายของ แต่ละปี คือ กองทุน AYFSTECH BCAP TCMEQF และ STD (2) กองทุนรวมให้อัตรา ผลตอบแทนเฉลี่ยประมาณร้อยะ 2.91 - 76.97 ฅ่อปี ในช่วงเดือนมกราคม 2545-ธันวาคม 2547 ซึ่ง สูงกว่าอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำระยะเวลา 1 ปี สำหรับปี 2544 กองทุนรวมให้ผลตอบแทนตํ่ากว่าผลตอบแทนตลาด โดยมีอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยร้อยละ 11.93 ต่อปีในขณะที่อัตราผลตอบแทนตลาดเฉลี่ยร้อยละ15.93 ต่อปี (3) โดยทั่วไปกองทุนลงทุน ในตราสารทุนหรือหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์โดยเฉลี่ยประมาณร้อยละ 90 ของมูลค่าทรัพย์สิน สุทธิของแต่ละกองทุน โดยกองทุนเน้นการลงทุนในหุ้นสามัญ 3 ลักษณะ คือ หุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน ดี หุ้นกลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวมาก และหุ้นเก็งกำไร ในบางกรณีกองทุนยังเลือกลงทุนในหุ้นกลุ่ม อื่น ๆ ที่การเคลื่อนไหวของราคาไม่เป็นไปตามการเคลื่อนไหวของตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.48en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทุนรวม -- ไทย -- การประเมินth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของกองทุนรวมในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of Thai mutual fund performanceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to evaluate the performance of open-end equity funds (2) to compare the rate of return on investment of each fund and (3) to analyse the investment policy of open-end equity funds Mutual funds analysed in this study were 71 open-end equity funds, operated by 11 Asset Manaement Companies. The research period was from January 2001 through December 2004. Sharpe, Treynor, and Jensen Indexes were employed to analyse tire performance of mutual funds. Similary, the change in net asset value of mutual funds was also used to compare the rate of return on investment of each fund. In addition, the investment data of each fund were considered to analyse the investment policy of those funds. The research results reported that (1) overall, open-end equity funds did perform well. Namely, the return for all funds was higher than market return during the research period, except for the year 2001. Funds ranked in the top three of each year were ABG STK RKF2 RKF3 AYFSCAP B-INFRA 1NGTEF KPLUS2 T1SCOEDF SCDF and BKA. For funds ranked in the last order, generating the lowest return, were AYFSTECH BCAP TCMEQF and STD. (2) from the period January 2002 to December 2004, the average return of mutual funds was about 2.91 - 76.97 % per year. It was higher than the average market return and the fixed deposit interest rate for 1 year. For the year 2001. mutual funds’ returns were lower than market return (11.93% versus 15.93%). (3) In general, funds were invested in equity securities, especially common stock listed 1ท the Stock Exchange of Thailand. The average investment proportion was about 90% of net asset value of each fund. Importantly, funds were concentrated on investment in three types of common stocks; blucchip stock, active stock, and speculative stock. In some case, funds also were invested in defensive stocken_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100913.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons