Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชนารถ จิตติ์ภาณุโสภณth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T06:49:41Z-
dc.date.available2023-08-03T06:49:41Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8396-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนล่าง (2) เปรียบเทียบการตัดสินใจซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนล่าง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกซื้อ เครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนล่าง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ นักเทคนิคการแพทย์ แพทย์ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนล่าง โดยไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 312 ราย ตามสูตรของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้สำหรับข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้สำหรับข้อมูลเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที่ การทดสอบ ค่าเอฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาล ในเขตภาคใต้ตอนล่างในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีความสำคัญมากที่สุด คือ การรับรู้ รองลงมา ได้แก่ การค้นหาข้อมูล การตัดสินใจซื้อ การประเมิน และการประเมินหลัง การซื้อ ตามลำดับ (2) ผู้ตัดสินใจที่มีเพศแตกต่างกัน และประเภทโรงพยาบาลที่สังกัดแตกต่างกัน มีการตัดสินใจซื้อเครื่องมือแพทย์ในเขตภาคใต้ตอนล่างแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านราคา กระบวนการ และลักษณะทางกายภาพ มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนล่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectแพทย์--เครื่องมือและอุปกรณ์--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectการจัดซื้อของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนล่างth_TH
dc.title.alternativeFactors related to medical devices purchasing decision of hospitals in the lower southern regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the decision-making level in purchasing medical equipment of hospitals in the lower southern region (2) to compare the purchasing decision of medical equipment of hospitals in the lower southern region, classified by personal factors, and (3) to study the relationship of marketing- mix factors in purchasing decision of hospitals in the lower southern region. This population of this survey research consisted of medical technicians, doctors and those involved in the purchase decision of hospitals in the lower southern region. The total number was unknown. The sample group was calculated by using Kreji and Morgan’s, yielding 312 samples altogether. A questionnaire was used as a tool for data analysis. The statistics used for descriptive data analysis were percentage, mean, standard deviation and statistics used for inferential data were t-test, F-test and, Pearson's correlation coefficient. The results of the study revealed that (1) the level of the decision to purchase medical equipment of hospitals in the lower southern region was overall and in each aspect at the highest level, ranking in the order of mean from high to low as perception, seeking information, decision-making, evaluation, and after sale evaluation (2) personnel with different genders and types of hospital they worked in had different decisions, with a statistical significance at 0.05 level, and (3) the marketing mix factors like prices, process, and physical characteristics were positively related to the decision-making of purchasing medical equipment, with a statistical significance at 0.05 level. The relation was positively at the moderate level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_166545.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons