Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8397
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่างth_TH
dc.contributor.authorปรียานุช ปวนกาศ, 2532th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T07:01:25Z-
dc.date.available2023-08-03T07:01:25Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8397en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงาน การตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านลักษณะงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 และ (4) เสนอแนะแนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในศึกษา คือ บุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 จำนวน 139 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 110 คน ตามสูตรของทาโร ยามาเน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีทางสถิติโดย การหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างมากเพื่อองค์กร รองลงมา คือ ด้านความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะรักษาไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกขององค์กร และด้านความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้าในการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์กร ตามลำดับ (2) บุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์กรไม่ต่างกัน (3) ปัจจัยด้านลักษณะงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ มีค่าเท่ากับ 0.701 ซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในระดับค่อนข้างสูง และ (4) ข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีความผูกพันต่อองค์กร สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12 ควรส่งเสริมให้บุคลากรมีปฏิสัมพันธ์กันภายในองค์กร เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับงานในหน้าที่ ปรับลดช่องว่างระหว่างวัย และนำเทคโนโลยีพร้อมทั้งสนับสนุนอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ในองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 12th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of personnel at Regional Audit Office No.12en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study the level of organizational commitment of the personnel of the Regional Audit Office No.12(2) compare the organizational commitment of the personnel of the Regional Audit General of Office No.12 classified by personal factors (3) study the relationship between job characteristics factor and organizational commitment of personnel of the Regional Audit Office No.12, and (4) suggest guidelines for building the organizational commitment of the Regional Audit Office No.12. The population of this survey research consisted of 139 personnel of the Regional Audit Office No.12. Thesample size was 110 people determined by using Taro Yamane formula with stratified random sampling. The constructed questionnaire was used as an instrument. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA and Pearson's correlation coefficient. The results of the study revealed that (1) the level of personnel of the Regional Audit Office No.12 was overall at the high. In each aspect, the willing to put the efforts to work hard for organization was at a highest level followed by a strong intention to maintain their membershipsof theorganization, and belief and acceptance of organizational goals and values respectively. (2) The personnel of the Regional Audit No.12 with different personal factors had the no different the organizational commitment. (3) The factor of job characteristic was related to the organizational commitment with statistically significant level at 0.01 with the correlation coefficient of 0.701. The relation was positively high in-direct correlation. (4) The suggestion to increase organizational commitment of personnel of the Regional Audit Office No.12 were supporting their interaction within the organization, improving knowledge and experiences in their task, reducing the generational gap, using new technology and equipment in the organization.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_166555.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons