Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนิสา จุ้ยม่วงศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติคุณ บุตรคุณ, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T08:47:48Z-
dc.date.available2023-08-03T08:47:48Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8408-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสำเร็จในการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการของจังหวัดอุดรธานี (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการของจังหวัดอุดรธานี (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการบริหารงาน จังหวัดแบบบูรณาการของจังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการพลเรือนสังกัดราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย ส่วนกลาง 204 คน ส่วนภูมิภาค 179 คน รวมทั้งสิ้น 383 คน เครื่องมือในการ วิจัยใซ้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า (1) ข้าราชการในจังหวัดอุดรธานี เห็นว่า การบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการของจังหวัดอุดรธานีประสบความสำเร็จ (2 ) ปัจจัยทั้ง 7 ด้าน ประกอบด้วย ด้านโครงสร้างขององค์กร ด้านยุทธศาสตร์ขององค์กร ด้านระบบงานขององค์กร ด้านรูปแบบ การบริหารขององค์กร ด้านบุคลากรขององค์กร ด้านความรู้และทักษะขององค์กร และ ด้านค่านิยมร่วมขององค์กรอย่างน้อยหนึ่งปัจจัยมีผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ นอกจากนี้หากพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัจจัยด้านบุคลากรขององค์กร และ ด้านค่านิยมร่วมขององค์กร มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคในการบริหารงานจังหวัดแบบ บูรณาการมากที่สุด คือ ด้านบุคลากรขององค์กร รองลงมา คือ ด้านโครงสร้างขององค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.182en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.subjectอุดรธานี -- การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ : กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the success of chief executive officers administration : a case study of Udonthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were three-fold: (I) to study the success of the Udonthani Province administration under Chief Executive Officers (CEO); (2) to study the factors affecting the success of the Udonthani Province administration under Chief Executive Officers (CEO); and (3) to study problems of the Udonthani Province administration under Chief Executive Officers (CEO). The sample comprised 383 government officials: 197 provincial and 204 central government officials. Instrument used was questionnaire. Statistics employed were percentage, mean, standard deviation and multiple regression. The research findings were:(l) the government officials of Udonthani Province agreed that the Udonthani Province administration under Chief Executive Officer (CEO) was succeeded; (2) among all 7 factors ะ structure, strategy, system, style, staff, skill and shared value factors, at least one factor affected the success of the Udonthani Province administration. Multiple regression analysis showed that staff factor and shared value factor affected to success at the .05 level of significance; and (3) the problems most hindered the success of the Udonthani Province administration under Chief Executive Officer (CEO) were staff factor, followed by structure factor. It was recommended that development by training and promoted in moral principles and ethics for good governance of staff were neededen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100922.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons