Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรีชา พุ่มจำปา, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T01:21:32Z-
dc.date.available2023-08-04T01:21:32Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8411-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมือง ท่าเรือพระแท่น (2) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองท่าเรือ พระแท่น (3) เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการพ้ฒนาการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อรองรับขยะมูล ฝอยที่เพิ่มขึ้นของเทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น กลุ่มตัวอย่าง คือ (1) กลุ่มผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น 46 คน (2) กลุ่มหัวหน้าครัวเรือนในเขตเทศบาลเมืองท่าเรือ พระแท่น 349 คน รวมทั้งสิ้น 395 คน (3) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในการสัมภาษณ์เชิงลึกและการ สนทนากลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารและสมาชิกสภาเทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น และประธานชุมชนใน เขตเทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าตํ่าสุด ผลการวิจัยพบว่า (1) เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่นใช้ทรัพยากร คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์และการบริหารจัดการในการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอย โดยสามารถเก็บรวบรวมขยะมูล ฝอยได้ ร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด การเก็บขนขยะมูลฝอยได้ ร้อยละ 80 ของขยะทั้งหมด การ กำจัดขยะมูลฝอยได้ รัอยละ 75 ของขยะทั้งหมด และดำเนินการรักษาความสะอาดอยู่ในระดับปาน กลางเป็นไปตามเป้าหมาย (2) ป้ญหาอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอย ได้แก่ คนงานกวาดขยะ คนงานเก็บขนขยะ ถังขยะ รถยนต์เก็บขนขยะแบบอัดท้าย รถยนต์เก็บขนขยะแบบรถกระบะ และ สถานที่กำจัดขยะไม่เพียงพอ (3) ข้อเสนอแนะในการจัดการขยะมูลฝอย เทศบาลเมืองท่าเรือ พระแท่น ควรเพิ่มคนงานกวาดขยะ คนงานเก็บขนขยะ ถังขยะ คนงานเก็บขนขยะ ถังขยะ รถยนต์เก็บขนขยะแบบอัดท้าย รถยนต์เก็บขนขยะแบบรถกระบะ และสถานที่กำจัดขยะให้เพียงพอ เพื่อรองรับปริมาณขยะที่มี เพิ่มขึ้น รวมทั้งศึกษาวิธีกำจัดขยะที่เหมาะสม เพื่อให้การจัดการขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.38en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น กาญจนบุรีth_TH
dc.subjectขยะ -- การจัดการ -- ไทย -- กาญจนบุรีth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of solid waste management of Tharuapratan Municipality, Thamaka District, Kanchanaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (l)to analyse the management of solid waste of Tharuapratan Municipality. (2) to study the problems and obstacles of management of solid waste of Tharuapratan Municipality. (3) to suggest the ways to develop the management of solid waste for overcoming garbages increasing in Tharuapratan Municipality. The samples were (1) 46 executives and officers, (2) 349 leaders of households, totaling 395 people, (3) key informants came from the executives, the council members and the heads of communities of the municipality. The research instruments were questionaires, and indepth interviews. The statistics used for the analysis were percentage and mean. The results of this research were (1) Tharuapratan Municipality utilized man. money, materials, and management for garbage collecting 75 percent of total area, garbage disposing 80 percent of total amount, garbage eliminating 75 percent of total garbage, and keeping clean of municipal area at moderate level as for the target (2) the problems and obstacles of the management of solid waste were the shortage of workers, garbage bins, dump trucks, garbage trucks and garbage disposal areas (3) the suggestions for the management of the solid waste were to increase workers, garbage bins, dump trucks, garbage trucks, garbage disposal areas as well as to study the way to eliminate solid waste properly and efficientlyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100925.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons