Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัจฉราวดี สุทธินันท์, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T07:49:00Z-
dc.date.available2023-08-04T07:49:00Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8443en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ด้านจิตใจของผู้ประสบภัยนํ้าท่วม ในอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา ผู้ให้ข้อมูลหลัก เป็นผู้ประสบภัยนํ้าท่วมในอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ปี พ.ศ.2554 จำนวน 11 ราย เก็บ รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยมีข้อค้นพบสำคัญ 3ประการดังนี้ (1)ความทุกข์จากสถานการณ์นํ้าท่วม ประกอบด้วย ความรู้สึกวิตกกังวล ความเครียด ความรู้สึกผิด และความสูญเสียในชีวิต (2) การพยายามแสวงหาทางออกจากการประสบภัยนํ้าท่วม มีปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจประกอบด้วย ลักษณะที่อยู่อาศัย สมาชิกในครอบครัว สัตว์เลี้ยง การศึกษา เศรษฐกิจ อาชีพ ทรัพย์สิน ความคิด ความเชื่อ และความช่วยเหลือ ปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกการดำเนินชีวิตและการพักอาศัยระหว่างเผชิญปัญหานํ้าท่วมในสองรูปแบบ คือ รูปแบบแรก การพักอาศัยในสถานที่เดิม และรูปแบบที่สองการโยกย้ายสถานที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยที่อยู่อาศัยชั่วคราวนอกพื้นที่นํ้าท่วม ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยนํ้าท่วม และย้ายกลับไปยังถิ่นฐานบ้านเกิด และ (3) การได้บทเรียนชีวิต สถานการณ์นํ้าท่วมทำให้บุคคลตระหนักและเห็นคุณค่าของความเข้าใจและกำลังใจภายในครอบครัว มิตรภาพของเพื่อน ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัย และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ให้ความช่วยเหลือ นอกจากนี้ยังเกิดการเรียนรู้ที่ได้รับจากความผิดพลาด และได้แนวทางการก้าวต่อไปด้วยการปรับตัว ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจเพื่อเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่เกิดจากภัยนํ้าท่วมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectน้ำท่วม--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.subjectผู้ประสบภัย--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleประสบการณ์ด้านจิตใจของผู้ประสบภัยน้ำท่วมในอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativePsychological experinces of flood victims in Bang Bua Thong District, Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study psychological experiences of flood victims in Bang Bua Thong District, Nonthaburi Province. This study was a qualitative research based on phenomenological concepts. The key informants were 11 people who were flood victims in Bang Bua Thong District , Nonthaburi Province in B.E. 2554 (A.D. 2011). Research data were obtained via in-depth interviews. The obtained interview data were analyzed with content analysis. Three main findings were revealed from this study: (1) The sufferings caused by the flooding situation comprised anxiety, stress, guilty feeling, and losses. (2) In the efforts to seek respite from the flooding disaster, the main factors that contributed to decision making were the following: characteristics of the dwelling place, family members, pets, education, economic condition, occupation, assets, thinking, belief, and assistance. These factors affected the decision making on two alternative ways of living and the selection of types of temporary dwelling place while facing the flooding condition. The first alternative was to continue to stay in the old dwelling place, and the second alternative was to move to other places which might be some temporary dwelling place outside the flooded area, residing temporarily in a flood victims relief center, or moving back to one’s domicile upcountry. (3) Lessons learned from the flooding experiences enabled ones to be aware of and realize the values of understanding and supports among family members, friendship from friends, the flood victims relief centers, and state and private agencies that provided helps. Furthermore, ones acquired learning out of ones’ mistakes,and obtained guidelines for future living by adjusting oneselves physically and mentally in order to be better prepared to confront future flooding disastersen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_134662.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons