Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8446
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศศิธร จันทร์ประเสริฐ, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T08:03:54Z-
dc.date.available2023-08-04T08:03:54Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8446-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสวีวิทยาที่มีต่อพฤติกรรมการเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น (2)เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสวีวิทยา จำแนกตาม เพศ ระดับชั้น สถานภาพทางครอบครัว และลักษณะการพักอาศัย และ (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักเรียนต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายปีการศึกษา 2555 โรงเรียนสวิวิทยา จังหวัดชุมพร จำนวน 283 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายชั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของ วัยรุ่นที่ผู้วิจัยสร้างขี้นเอง มีลักษณะเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .78 สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1)นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสวีวิทยามีความคิดเห็น เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศอยู่ในระดับ ปานกลาง โดยด้านการปฏิบัติตัวต่อเพื่อนต่างเพศในฐานะคู่รัก มากที่สุด รองลงมาด้านการสมาคมกับเพื่อนต่างเพศ และ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสรีวิทยา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ อยู่ในระดับ มากที่สุด (2) นักเรียนมัธยมศึกษาตอน ปลายโรงเรียนสวิวิทยาที่มีเพศ และการพักอาศัยต่างกันมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน และสำหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสวิวิทยาที่มีระดับชั้นเรียนและสถานภาพทางครอบครัวต่างกันมีความ คิดเห็นที่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสวีวิทยาที่มีเพศ ระดับชั้นเรียน สถานภาพทางครอบครัวและการพักอาศัยต่างกันมีความคิดเห็น ต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวัยรุ่น--พฤติกรรมทางเพศth_TH
dc.titleพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตามความคิดเห็นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสวีวิทยา จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe sexually risky behaviors of adolescents as perceived by upper secondary students of Sawi Wittaya School in Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study opinions of upper secondary students of Sawi Wittaya School towards the sexually risky behaviors of adolescents; (2) to compare opinions towards the sexually risky behaviors of upper secondary students of Sawi Wittaya School, as classified by gender, class level, family status, and accommodation type; and (3) to compare students’ opinions towards the ways to reduce sexually risky behaviors of adolescents. The research sample consisted of 283 upper secondary students in academic year 2012 of Sawi Wittaya School in Chumphon Province who were selected by multistage sampling. The employed research instrument was a 5-level rating scale questionnaire on opinions of the upper secondary students towards sexually risky behaviors, developed by the researcher, with reliability of .78. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and analysis of variance. Research findings showed that (1) the upper secondary students of Sawi Wittaya School hadopinions towards the sexually risky behaviors at the moderate level; the sexually risky behavior that received the top rating mean was the behavior towards the opposite gender friends as lovers, to be followed by the association with opposite gender friends; also, it was found that upper secondary students of Sawi Wittaya School had opinions towards the ways to reduce sexually risky behaviors at the highest level; (2) upper secondary students of Sawi Wittaya School with different genders and accommodation types differed significantly at the .05 level in their opinions towards sexually risky behaviors; while the students with different class levels and family statuses did not differ significantly in their opinions; and (3) upper secondary students of Sawi Wittaya School with different genders, class levels, family statuses, and accommodation types did not differ significantly in their opinions towards the way to reduce sexually risky behaviors at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_137352.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons