Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกนกนุช นากสุวรรณ, 2501-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T07:41:59Z-
dc.date.available2022-08-20T07:41:59Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/851-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในเขตดอนเมือง (2) เพึ่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีเขตดอนเมือง (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในเขตดอนเมือง กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีในเขตดอนเมือง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ กลุ่มสตรีเขตดอนเมือง จำนวน 302 คน ที่ได้จากการสุ่ม ตัวอย่างแบบช่วงขั้น เครึ่องมีอที่ไช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ชี่งมีค่าความน่าเชื่อถือ 0.8742 ทำการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS For Windows ชี่งใช้ค่าสถิติ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติไคแสควร์ รวมถึงการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) การมีส่วนร่วมทางการเมือง จัดอยู่ในกลุ่มผู้ที่ตอบสนองต่อสิ่งเรัาทางการเมืองในลักษณะปัจเจกบุคคลและรูปแบบของการเลือกตั้งมากที่สุด 2) อาชีพ, สถานภาพ, การศึกษา ความถี่ในการเปิดรับข่าวสารทางการเมืองจากสื่อมวลชนและการรับข่าวสารทางการเมืองเป็นปัจจัยที่ มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.174en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสตรีกับการเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทยth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรี ศึกษาเฉพาะสตรีในเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFemale's political participation : a case study in Khet Don Maung, Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.174en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1)to study the political participation of female population in Khet Don Mueang (2) to study personal, mass communicational and political perception of female population in Khet Don Mueang. (3) To study the relationships between personal, mass communicational and political perception and political participation of the sample. The sample consisted of 302 female citizens in Khet Don Mueang selected ofthe stratified random sampling. A questionnaire was used with a reliability of .8742. Data were analyzed by means of SPSS for Windows using percentage, mean, standard deviation, chi-square and content analysis The finding were (1) Political participation was classified in the group that showed response to political stimulation individually and voted most frequently. (2) Occupation, status, education and frequency of mass communication and political perception are significantly related to political participation at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib86715.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons