Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8590
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยินดี ช่วยปลอด, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T04:02:17Z-
dc.date.available2023-08-08T04:02:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8590en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตลุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น (2) เปรียบเทียบผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น จำแนกตามเพศระดับชั้น ผลการเรียนเฉลี่ยและอาชีพของผู้ปกครอง และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต กับผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นจำนวน 313 คนจากโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดเล็กในจังหวัดชุมพรได้จากการสุ่มแบบหลายชั้นตอน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างกำหนดโดยใช้วิธี ของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยง .86 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลไต้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวน และสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) พฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าพฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการติดต่อสื่อสาร รองลงมาคือ ด้านความบันเทิง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการศึกษา (2) ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมและผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต พบว่า ผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตโดยรวมด้านบวก อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อวิเคราะห์เป็นรายด้าน พบว่า ด้านตนเอง ด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา และด้านสังคมอยู่ในระดับมาก ส่วนผลโดยรวมด้านลบอยู่ในระดับมาก และด้านการศึกษาอยู่ใน ระดับปานกลาง การเปรียบเทียบพฤติกรรมและผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต พบว่า นักเรียนที่มีเพศต่างกัน ผลการเรียนเฉลี่ยต่างกัน และอาชีพของผู้ปกครองต่างกัน มีพฤติกรรมใช้สื่ออินเทอร์เน็ตโดยรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนนักเรียนที่เรียนในระดับชั้นต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตพบว่า นักเรียนที่มีเพศต่างกัน และผลการเรียนเฉลี่ย ต่างกัน มีผลการใช้อินเทอร์เน็ตโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักเรียนที่เรียนในระดับชั้นต่างกัน และอาชีพของผู้ปกครองต่างกันมีผลการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตโดยรวมไม่แตกต่างกัน และ (3) พฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง (r= 0.44)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอินเทอร์เน็ตกับวัยรุ่น--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้สื่อและผลที่เกิดจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe internet usage behaviors and effects of the internet usage of early adolescent students in small secondary schools in Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the Internet usage behaviors of early adolescent students; (2) to compare the effects of the Internet usage of early adolescent students classified by age, gender, class level, GPA and parents’ occupation; and (3) to study the relationship between the internet usage behaviors and the effects of the internet usage of early adolescent students. The research sample consisted of 313 early adolescent students from small schools in Chumphon province, obtained by multi-stage sampling. The sample size in this study was determined based on the formula of Krejcie & Morgan. The employed research instrument was a questionnaire with reliability coefficient of .86. The statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA and Pearson product moment correlation. The study results showed that (1) the overall Internet usage behavior was at the moderate level. When specific aspects of the behaviors were considered, it was found that the aspect of the Internet usage behaviors receiving the highest rating mean was that of the use for communications, followed by that of the use for entertainment; while the aspect receiving the lowest rating mean was that of the use for education; (2) regarding comparison results of the Internet usage behaviors and the effects of the Internet usage, it was found that the overall positive effect of the Internet usage was at the moderate level; when specific aspects of the positive effect were analyzed, it was found that the effect on the students themselves, on the business aspect, on the educational aspect, and on the social aspect were at the high level; on the other hand, the overall negative effect was at the high level, while the negative effect on the education aspect was at the moderate level; results of comparison of the Internet usage behaviors and the effects of the Internet usage showed that students with different genders, GPA’s, and parental occupations did not significantly differ in their overall Internet usage behaviors; while students studying in different class levels differed significantly at the .05 level in their overall Internet usage behaviors; as for the comparison results of the effects of the Internet usage, it was found that students with different genders and different GPA’s differed significantly at the .05 level in the overall effects of their Internet usage behaviors; while students studying in different class levels and having parents with different occupations did not differ significantly in the overall effects of their Internet usage behaviors; and (3) the Internet usage behavior correlated positively and moderately (r = .44) with the effect of the Internet usage, which was significant at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_152258.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons