Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอ้อมรัก ฤกษ์สรรเสริญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T07:20:24Z-
dc.date.available2023-08-08T07:20:24Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8613-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในกลุ่ม โรงพยาบาลเอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาล เอกชนกับปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ (3) ปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากร มนุษย์ในกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหารด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงพยาบาล เอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 22 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิง สำรวจ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้านการวางแผนกำลังคน ด้านบุคลากรสัมพันธ์และแรงงานสัมพันธ์ ด้านการบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการ และด้านการ ฝึกอบรมและพัฒนา มีความสำคัญอยู่ในระดับมากต่อประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (2) ค่าไคสแควร์ระหว่างปัจจัยทั่วไปของโรงพยาบาลเอกชนกับปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และประสิทธิภาพในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ไม่มีความสัมพันธ์กัน และ (3) ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์และปัจจัยประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากร มนุษย์มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 0.5th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชน--การบริหารงานบุคคล.--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeHuman resource management in private hospitals, Northeastern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study was to study: (1) human resource management in private hospitals, Northeastern Region; (2) study of relationship between general information of private hospital and human resource management factors; and ( 3 ) study human resource management factors affecting the efficiency of human resource management. The population used in the study is the executives in human resources management of private hospitals in Northeastern Region, 22 samples. The instruments used in this research were questionnaires. The statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s Correlation Coefficient, and Chi-Square. The results showed that: (1) the first important priority of human resource management factor and the efficiency of human resource management factor were Workforce Planning, Compensation and Benefit management, Training and Development, Employee Relations, Performance Management, Organization Development, and Corporate Social Responsibility in the high level; (2) the chi-square analysis revealed that general information factor, human resource management factor and the efficiency of human resource management factor. There was no correlation; and(3) Pearson's Correlation Coefficient shows the relationship between human resource management factor and the efficiency of human resource management factor, had statistically significant positive correlation at .01 and 0.5en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158524.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons