Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8665
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาพร หาญสนาม, 2509- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T06:56:38Z-
dc.date.available2023-08-09T06:56:38Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8665en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับความพร้อมทางทักษะในการเรียนตามแนวทางไทยแลนด์ 4.0 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง และ (2) เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมทางทักษะในการเรียนตามแนวทางไทยแลนด์ 4.0 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระนอง จำแนกตาม เพศ อาชีพของผู้ปกครอง การศึกษาของผู้ปกครอง รายได้ต่อเดือนของผู้ปกครอง ฐานะทางเศรษฐกิจ และผลการเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 324 คน คำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรการคำนวณของยามาเน่ สุ่มแบบหลายชั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามความพร้อมทางทักษะในการเรียนตามแนวทางไทยแลนด์ 4.0 ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีความพร้อมทางทักษะในการเรียนตามแนวทางไทยแลนด์ 4.0 ด้านทักษะคณิตศาสตร์ ด้านการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และด้านการใช้เทคโนโลยี อยู่ในระดับปานกลาง และ (2) นักเรียนที่มี เพศสถานภาพ อาชีพรายได้ของครอบครัวต่อเดือน การศึกษา ของบิดามารดา และผลการเรียนที่ต่างกัน มีความพร้อมทางทักษะทางการเรียนตามแนวทางไทย แลนด์ 4.0 รายด้านทุกด้านและโดยภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทักษะการเรียน--ไทย--ระนองth_TH
dc.subjectการเตรียมพร้อม--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleความพร้อมทางทักษะในการเรียนตามแนวทางไทยแลนด์ 4.0 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองth_TH
dc.title.alternativeLearning skill readiness based on Thailand 4.0 framework of Prathom Suksa VI students in Schools under Ranong Primary Education Service Area Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of learning skill readiness, based on Thailand 4.0 framework, of Prathom Suksa VI students in schools under Ranong Primary Education Service Area Offices; and (2) to compare the levels of learning skill readiness, based on the Thailand 4.0 framework, of Prathom Suksa VI students in schools under Ranong Primary Education Service Area Offices as classified by gender, parent’s occupation, parent’s educational level, parent’s monthly income, economic status, and learning achievement. The research sample consisted of 324 Prathom Suksa VI students in schools under Ranong Primary Education Service Area Offices, obtained by multi-stage sampling. The sample size was calculated using the Yamane sample size formula. The employed research instrument was a questionnaire on learning skill readiness based on Thailand 4.0 framework. Data were analyzed using the frequency, percentage, standard deviation, t test, and one-way ANOVA. The results showed that Prathom Suksa VI students in schools under Ranong Primary Education Service Area Offices had learning skill readiness based on the Thailand 4.0 framework at the moderate level in three categories, namely, learning skill readiness in mathematics, learning skill readiness in problem solving creatively, and learning skill readiness in technology usage at the moderate level; and (2) students with different genders, parent’s occupations, parent’s educational levels, parent’s monthly incomes, economic statuses, and learning achievement levels did not significantly differ in both their overall and by-aspect levels of learning skill readiness based on Thailand 4.0 framework.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_156594.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons