Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมัชฌิมา ประมาณ, 2526- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T08:02:23Z-
dc.date.available2023-08-09T08:02:23Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8684en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความหยุ่นตัวของผู้ที่ผิดหวังในความรักก่อนการทดลอง หลังการทดลองและในระยะติดตามผลการทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ที่ผิดหวังในความรักที่สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล และผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ได้แก่ มีประสบการณ์การผิดหวังในความรักในระยะเวลาไม่เกิน 2 เดือน และมีคะแนนความหยุ่นตัวตั้งแต่ระดับปานกลางลงมา จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการค้นคว้าอิสระ ได้แก่ (1) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลเพื่อเสริมสร้างความหยุ่นตัวของผู้ที่ผิดหวังในความรัก จำนวน 8 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 50 นาที และ (2) แบบวัดความหยุ่นตัวที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .83 เก็บข้อมูลโดยการประเมินความหยุ่นตัวก่อนทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผล 2 สัปดาห์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์การทดสอบพรีดแมน และการทดสอบวิลคอกชั่น ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผลการทดลอง ผู้ที่ผิดหวังในความรักมีความหยุ่นตัวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเมื่อเปรียบเทียบความหยุ่นตัวของผู้ที่ผิดหวังในความรักหลังการทดลองและติดตามผลการทดลอง พบว่า ความหยุ่นตัวของผู้ที่ผิดหวังในความรักเมื่อติดตามผลการทดลองสูงกว่าหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความรัก--การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคลth_TH
dc.subjectความผิดหวัง--การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลเพื่อเสริมสร้างความหยุ่นตัวของผู้ที่ผิดหวังในความรักth_TH
dc.title.alternativeThe effects of individual counseling to enhance resilience of people who were disappointed in loveen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to compare resilience levels of people who were disappointed in love before the experiment, after the experiment and during the follow-up period. The research sample consisted of 7 persons who volunteered to participate in the experiment of receiving individual counseling to enhance resilience. The inclusion criteria were that they had to have previous experience in love disappointment of no more than 2 months and their resilience scores had to be at the moderate level or lower. The instruments employed in the study were (1) an individual counseling program for enhancing resilience of people who were disappointed in love, which consisted of 8 counseling sessions each of which lasted for 50 minutes; and (2) a scale to assess resilience, with reliability coefficient of .83. The data were collected by evaluation of resilience before the experiment, after the experiment, and two weeks after the experiment during the follow-up period. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, medium, inter-quartile range, Friedman Test, and Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test. The result of research revealed that the situation before the experiment, after experiment and follow up period, the subjects who were disappointed in love have a different resilience with statistical significance at .01 level. In addition, when comparing with the resilience of them after experiment and follow up period, found that the follow up period about the resilience of the subjects who were disappointed in love is higher after the experiment with statistical significance at .01 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_162008.pdfเอกสารฉบับเต็ม64.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons