Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/874
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | - |
dc.contributor.advisor | บุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | - |
dc.contributor.author | สุมาลินี อ้นเกษม, 2510- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-22T14:28:41Z | - |
dc.date.available | 2022-08-22T14:28:41Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/874 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการรับรู้การเสริมสร้างพลังอำนาจใน งานและการให้การพยาบาลแบบองค์รวม (2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล และการรับรู้การเสริมสรัางพลังอำนาจใน งานที่มีผลต่อการให้การพยาบาลแบบองค์รวม และ (3) สร้างสมการอำนายการให้การพยาบาลแบบองค์รวมจาก ปัจจัยส่วนบุคคล และการรับรู้การเสริมสร้างหลังอำนาจในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัด สกลนคร ประชากรที่ศึกษาคือ พยาบาลประชาการที่ปฏิบัติงานด้านบริการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสกลนคร จำนวน 447 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 211 คน เครื่องมือที่ใข้เป็น แบบสอบถามที่ 5 วิจัยสรัางขึ้น ประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้การเสริมสรัางพลัง อำนาจในงาน และการให้การพยาบาลแบบองค์รวม ขึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแนบสอบถาม ตอนที่สองและสามเท่ากับ 0.91 และ 0.98 ตามอำคับ การวิเคราะห้ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่ารัอยถะ ค่าเฉลี่ย ค่าความเที่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูฌ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับการรับรู้การเสริมสรัางพลังอำนาจในงานและการให้การพยาบาลแบบ องค์รวมอยู่ในระดับมาก (2) การรับรู้การเสริมสรัางพลังอำนาจในงานสามารถอำนายการให้การพยาบาลแบบองค์ รวมได้รัอยละ 39.2 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีผลต่อการให้การพยาบาลแบบองค์รวม (3) สมการอำนายการให้ การพยาบาลแบบองค์รวม คือ Y - 1.547 + .649 X การรับรู้การเสริมพลังอำนาจในงาน ข้อเสนอแนะในการวิจัยชี้ว่า การเสริมสรัางพลังอำนาจในงานมีผลต่อการให้การพยาบาลแบบ องค์รวมของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล ชุมชน ผู้บังคับบัญชาควรเสริมสรัางพลังอำนาจให้ปฏิบัติงานรู้ถึงความมีคุณค่าแห่งตน เกิดความพึงพอใจใน งานและสามารถให้การพยาบาลแบบองค์รวมได้อย่างเติมศักยภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.format.extent | [ก]-ญ, 110 แผ่น | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล | - |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--การบริหาร | - |
dc.subject | การพยาบาล--การบริหาร | - |
dc.subject | การจูงใจ (จิตวิทยา) | - |
dc.subject | การทำงาน | - |
dc.subject.classification | Thes พย 1 ส74 2550 | - |
dc.title | ปัจจัยส่วนบุคคล และการรับรู้การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานที่มีผลต่อการให้การพยาบาลแบบองค์รวมของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสกลนคร | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of personal factors and perception of job empowerment on holistic nursing care of professional nurses at Community Hospitals in Sakonakhon Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.degree.grantor | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to examine the level of the perception of job empowerment and holistic nursing care, (2) to study the effect of personal factors and the perception of job empowerment on holistic nursing care, and (3) to construct the prediction equation of the holistic nursing care from personal factors and the perception of job empowerment of professional nurses at community hospitals in Sakonakhon province. Simple random sampling technique was used for selecting subjects. Questionnaires were used for collecting the data from 211 professional nurses. Questionnaires consisted of three parts: personal factors, perception of job empowerment and holistic nursing care of professional nurses. The content validity was verified by five experts. The Cronbach Alpha reliability coefficients of the second and the third parts were 0.91 and 0.98 respectively. Statistical devices used for research data analysis were percentage, mean, standard deviation, and multiple regressions. The research findings were as follows. (1) Nurses perceived the job empowerment to the holistic nursing care at a very appropriate level. (2) The factor that significantly predicted the holistic nursing care was job empowerment. These predictors were accounted for 39.2 %. (3) The prediction equation of holistic nursing care was p*w or job To conclude, job empowerment have effect on the holistic nursing care of professional nurses at community hospitals, so supervisors should empower their staff. Then they will be aware of their self-value and will be satisfied in their Jobs. Above all, they will provide holistic nursing care as best they can | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
102126.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License