Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8793
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุปรียา สังข์ทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T06:24:31Z-
dc.date.available2023-08-11T06:24:31Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8793-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันของบุคลากรต่อ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันของบุคลากรต่อมหาวิทยาลัย ศรีปทุม และ (3) เสนอแนวทางความผูกพันให้กับมหาวิทยาลัยศรีปทุม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือบุคลากรของมหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน จำแนกเป็น อาจารย์ จำนวน 255 คน และเจ้าหน้าที่ จำนวน 285 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 540 คน ขนาดกลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 230 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคือ แบบสอบถาม ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบที ทดสอบเอฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ระดับความผูกพันของบุคลากรต่อมหาวิทยาลัยศรี ปทุม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุและอายุงานมีความสัมพันธ์กับความ ผูกพันของบุคลากรต่อมหาวิทยาลัยศรีปทุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยภายใน องค์การที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันของบุคลากรต่อมหาวิทยาลัยศรีปทุม คือ ปัจจัยภายใน องค์การทั้ง 4 ด้าน ด้านระบบการทำงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันของบุคลากรต่อมหาวิทยาลัย ศรีปทุม ด้านการมีส่วนร่วมของพนักงาน ด้านระบบการให้รางวัลหรือสิ่งตอบแทนที่จูงใจ และด้าน ความคล่องตัวของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (3) แนวทางความผูกพัน มหาวิทยาลัยควรจัด โครงการฝึกอบรมส่งเสริมพัฒนาทักษะเกี่ยวกับการทำงานให้กับบุคลากรเพิ่มมากขึ้น และควร ส่งเสริมความก้าวหน้าในสายงานของแต่ละบุคคลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันของบุคลากรต่อมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.title.alternativeFactors relating personnel engagement of Sripatum Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of personnel engagement of Sripatum University; (2) to identify factors related to the personnel engagement of Sripatum University; and (3) to propose a guideline of personnel commitment to the University. The population of this study was the entire faculty members and staff at Sripatum University, Bangkhen, consisting of 255 faculty members and 285 staff, totaling 540 persons. Sample size was calculated and 230 samples were selected by stratified sampling method. The questionnaire used as a tool. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Pearson’s correlation coefficient. The results of the study revealed that: (1) the personnel engagement level of staff at Sripatum University was at high level, (2) personal factors related to personnel engagement of Sripatum University were age and duration of work with a statistical significance at the level of 0.05, while internal factors of organization related to personnel engagement were 4 aspects; work system, employee participation and incentive system or reward incentives, and agility of human resources management, and (3) as for the university engagement approach, the university should provide more training and skill development programs as well as promote individual career advancementen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154749.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons