Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8854
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสน่ห์ จุ้ยโต | th_TH |
dc.contributor.author | สุภาพัฒน์ คำแข็งขวา, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T04:24:00Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T04:24:00Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8854 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ ภาค 4 (2) เปรียบเทียบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ ภาค 4 โดยจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ภาค 4 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากร ของศาลอุทธรณ์ภาค 4 มีบุคลากรทั้ งหมด จํานวน 132 คน โดยใช้ประชากรทั้งหมด จํานวน 132 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรศาลอุทธรณ์ภาค 4 มีระดับความคิดเห็นต่อการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ภาค 4 ในภาพรวม ทั้ง 7 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ด้านวัฒนธรรมองค์การ ด้านการประเมินสมรรถนะระบบบริหารทรัพยากร มนุษย์ ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์แนวใหม่ ด้านบริ หารสมรรถนะ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านสุขภาพและความปลอดภัย อยู่ในระดับปานกลาง (2) บุคลากรของศาลอุทธรณ์ภาค 4 ที่มี เพศ อายุ การศึกษา รายได้ ประเภท ตําแหน่ง ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ ภาค 4 ไม่แตกต่างกัน (3) แนวทางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ ภาค 4 มี 3 ประการ คือ ให้ความสําคัญต่อการอบรมให้ความรู้ การจัดสรรงบประมาณสําหรับการอบรมทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงานแก่บุคลากร แนวทางที่ ชัดเจนและเป็นธรรมมากขึ้น และส่งเสริม ด้านสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่บุคลากรให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ศาลอุทธรณ์ภาค 4--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของศาลอุทธรณ์ภาค 4 | th_TH |
dc.title.alternative | Human resources management of the Court of Appeal Region 4 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to : (1 ) study the level of Human Resources Management of the Court of Appeal 4 (2) compare the officers’ opinions on the Human Resources Management of the Court of Appeal Region 4 classified by personal factors. (3) provide the suggestions for improvement in Human Resource Management of the Court of Appeal Region 4 This study was a survey research. The population in the study is 132 personnel of the Court of Appeal Region 4. The tool for data collection is a questionnaire. The statistics used in the analysis is percentage, mean, and standard deviation. The study found that : (1) in overall, the opinions of the personnel of the Court of Appeals Region 4 toward the Human Resources Management of the Court of Appeal 4 in seven aspects, were at a high level. It was found that Organization Culture Performance Evaluation, Strategic Human Resource Management, Organization Eevelopment, New Human Resource Development, and Competency Management were at a high level. However, Health and Safety was at a medium level. (2) The personnel of the Court of Appeals Region 4 with different genders, ages, educations, incomes, positions, periods of employment had no different opinion on human resource. (3) The guidelines for Human Resource Development of the Court of Appeal Region 4 showed that they should focus on education training, budget allocation for internal and external trainings for personnel, clearer and fairer performance evaluation, and concrete health and quality of life promotion. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_162685.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License