Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8886
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจริญศักดิ์ แสงฉัตรสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | นริศ จิตวัฒนากร, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-16T02:52:03Z | - |
dc.date.available | 2023-08-16T02:52:03Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8886 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบบริษัทพัฒบาอสังหาริมทรัพย์ในกลุ่ม SET 100 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดย (1) วิธีวิเคราะห์งบการเงินแนวตั้ง (2) วิธีวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน (3) วิธีวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (4) วิธีวิเคราะห์กระแสเงินสดการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษาคือ บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกลุ่ม SET 100 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 10 บริษัท โดยผู้ศึกษาได้นำข้อมูลงบการเงิน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2550-2559 รวม 10 ปี มาวิเคราะห์ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลจากการวิเคราะห์งบการเงินแนวตั้ง บริษัทที่ทำการศึกษาส่วนใหญ่ค่าเฉลี่ยสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนแสดงถึงสภาพคล่องในการดำเนินงานที่ดี (2) ผลจากการวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน บริษัทที่ทำการศึกยาส่วนใหญ่มีการ ขยายตัวของสินทรัพย์หมุนเวียนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้ ค่ใช้ง่ายและกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น ถึงแม้ในปี พ.ศ. 2537 จะมีแนวโน้มการขยายตัวลดลง เนื่องมาจากปัจจัยภายนอกอันได้แก่วิกฤตการณ์ทางการเมือง แต่ก็ยังถือว่ามีการขยาขตัวมากขึ้นจากปี พ.ศ. 2350 (3) ผลจากการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ทางด้านสภาพคล่องมีค่าเฉลี่ยอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเฉลี่ยมากกว่า 1 เท่า แสดงถึงการมีสภาพคล่องที่ดี มีค่เฉลี่ยอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็วต่ำกว่ 1 เท่า เนื่องจากมีระยะเวลาการขายสินค้าได้ช้า มีค่าเฉลี่ยอัตราส่วมความสามารถในการชำระดอกเบี้ยที่ดี ทางด้านประสิทธิภาพในการดำเนินงาน มีคำเฉลี่ยระยะเวลาเก็บหนี้เฉสี่ยที่ดี มีค่าเฉลี่ยระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยค่อนข้างนาน ทางด้านไครงสร้างทางการเงิน มีค่าเฉลี่ยอัตราส่วมหนี้สินต่อสินทรัพย์รวมความเสี่ยงต่ำมีค่าเฉลี่ยอัตราส่วมหนี้สิบต่อส่วนของผู้ถือหุ้นความเสี่ยงปานกลาง ทางด้านความสามารถในการทำกำไร มีค่าเฉลี่ยอัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขายสูง มีค่าเฉลี่ยอัตราส่วนผลตอบแทนของสินทรัพย์รวมปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอัตราส่วนผลตอบแทนของส่วนของผู้ถือหุ้นสูง แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรที่ดี และมีการใช้เงินทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (+) ผลจากการวิเคราะห์กระแสเงินสด ทางด้านกิจกรรมดำเนินงานพบว่าบริษัทที่ทำการศึกษาส่วมใหญ่มีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำนินงานเพียงพอต่อการดำเนินกิจการ โดยพิจารณาจากกระแสเงินสดสุทธิเป็นบวก ทางด้านกิจกรรมการลงทุนพบว่ามีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุนเป็นบวกและลบสลับกัน การลงทุน ส่วนใหญ่จะใช้ไปในการให้กู้ยืมแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน ทางด้านกิจกรรมจัดหาเงินมีค่เป็นบวกและลบสลับกัน ไม่แน่นอน โดยมีคำเป็นบวกจากการกู้ยืมเงินทั้งระยะสั้นและระยะยาว และการออกหุ้นกู้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย--การลงทุน | th_TH |
dc.subject | การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ทางการเงินบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกลุ่ม SET 100 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Financial analysis for listed companies of properties development sector SET 100 in the Stock Exchange of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to analyze and compare the financial statement to listed companies of properties development sector SET 100 in the Stock Exchange of Thailand by (1) common size analysis (2) horizontal analysis (3) financial ratio analysis (4) cash flow statement analysis. This study is quantitative research. The population of this study are 10 companies from listed companies of properties development sector SET 100 in Stock Exchange of Thailand. The researcher has gathered financial statement from 2007 to 2016, total 10 years for analysis. The result of this study showed that: (1) mostly, the companies had the ratio of current assets to non-current asset which represented a good liquidity. (2) the horizontal analysis indicated that although in 2014 there was a slowdown in growth due to the external factors such as the political crisis, the current assets, non-current assets, liabilities, shareholders’ equity, income, expenses and net income growth rate was still higher than it was in 2007. (3) according to the financial ratio analysis, it was found that the average of current ratio is more than 1 times which reflected a good liquidity. The average of the quick ratio is less than 1 times due to the slow selling time. The average of the interest coverage ratio is good. On the activity ratio side, the average of collection period is good. The average selling time is quite long. On the leverage ratio side, the debt to total assets ratio has low risk. The average of the debt to equity ratio has medium risk On the profitability ratio side, the average of the net profit margin ratio is high. The average of the return on total asset ratio is medium. The average of the return on equity ratio is high. Therefore it had the ability to make a good profit and high investment efficiency. (4) cash flow analysis of operating activities showed that most of the companies in this study had net cash from operating activities sufficient to operate on the basis of positive net cash flow. In investment activities, net cash from investing activities was both positive and negative. Most of the investment was used in lending to related parties. The financing activities were also both positive and negative. The financing activities that generated positive as the result of short-term and long-term loans and debentures. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_155974.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License