Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8896
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorพรสุภา ดอกพุฒ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T04:05:30Z-
dc.date.available2023-08-16T04:05:30Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8896en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี สำนักงานทางหลวงในเขตพื้นที่ภาคเหนือ กรมทางหลวง และ(2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี สำนักงานทางหลวงในเขตพื้นที่ภาคเหนือ กรมทางหลวง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ เจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี สำนักงานทางหลวงในเขตพื้นที่ภาคเหนือ กรมทางหลวง จำนวน 208 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณของเครงซี่และมอร์แกน ได้จำนวน เ36 ตัวอย่าง สุ่มกลุ่มตัวอย่างคั่วขวิธีการแบบสัดส่วน เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่ร้อยละ ค่าเลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบ ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ ผลการศึกษาพบว่า (1) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี ของเจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี สำนักงานทางหลวงในเขตพื้นที่ภาคเหนือ กรมทางหลวง โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แรงจูงใจมีค่าเฉถี่ยเป็นลำดับแรก คือ ด้านด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ไดยรวมอยู่ในระดับมาก รองลงมา ค้านความสำเร็งในงานที่ทำโดยรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน และค้านเงินเดือน ค่าตอบแทน และสวัสดิการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ (2) เจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี สำนักงานทางหลวงในเขตพื้นที่ภาคเหนือ กรมทางหลวง ที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระขะเวลาในการปฏิบัติงาน ตำแหน่งในการปฏิบัติงาน และ รายได้ต่อเดือน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนเพศ สถานภาพ มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี สำนักงานทางหลวงในเขตพื้นที่ภาคเหนือ กรมทางหลวงth_TH
dc.title.alternativeMotivation at work of finance and accounting officers in Northern Region Office, Department of Highwayen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to determine the level of Motivation at Work of Finance and Accounting Officers in Northern Region Office, Department of Highway; and (2) to compare the level of Motivation at Work of Finance and Accounting Officers in Northern Region Office, Department of Highway The population in this research were 208Finance and Accounting Officers Northern Region Office of Highways, Department of Highway. The sample size was 136 people calculated by using the standard error of the Krejcie and Morgan formula. The instrument used to collect data was a questionnaire at 95% reliability, By Proportional sampling method using was Stratified Random Sampling. Descriptive statistics used in this study were percentage, means, and standard deviation (SD). Inferential statistics used were t-test and F-test was applied to analysis of variables (one-way ANOVA) and Compare LSD. The results of this study showed that: (1) the Finance and Accounting Officers in Northern Region Office, Department of Highway, had the high level of motivation at work in overall. The relationship with colleagues was the first factor to support work motivation, and job success was the second factor. These factors were at high level. The last factors supported to work motivation were advancement, compensation and benefits whichin medium level; and(2) moreover, the Finance and Accounting Officers in Northern Region Office, Department of Highway, who have the different ages, education levels, duration of working, working position, and income showed the significant different on motivation at work 0.05 level. However, there were not shown the significant different on motivation at work among the different gender and marital status.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158387.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons