Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชญาภา จารุเกียรติกุล, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T04:32:05Z-
dc.date.available2023-08-16T04:32:05Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8899en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และ (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ บุคลากรสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จำนวนทั้งสิ้น 59 คน โดยผู้ศึกษาเป็นหนึ่งในสมาชิกของสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ จึงตัดผู้ศึกษาออกจากการศึกษาครั้งนี้ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 58 คน เครื่องมือในการศึกษาใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที่ การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์รายคู่แบบเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากร สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีระดับความผูกพันต่อองค์การอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ด้านเพศ และอายุมีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ(3) ข้อเสนอแนะพบว่า สู้บริหารควรจัดให้มีการบริหารงานที่ส่งเสริมบุคลากรหญิงให้มีบทบาทมากยิ่งขึ้น มอบโอกาสบุคลากรที่มีอายุและอายุงานน้อยมีส่วนร่วมทางการบริหารมากขึ้น และส่งเสริมบุคลากรให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ --ข้าราชการ --ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์th_TH
dc.title.alternativeFactors related organization commitment of personnel School of Science Walailak Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research: (1) to study factors related to organizational commitment of personnel School of Science Walleye University (2) the relationship between personal factors and organizational commitment of personnel School of Science Walailak University; and (3) to provide guidance on enhancing the level of organizational commitment of personnel School of Science Walailak University. This research was the survey research. The population was employees of Personnel School of Science Walailak University. The researcher is one of the members of the School of Science. For this research. Researchers cut themselves off from the study. The sampling consisted of 58 employees using stratified random sampling. The instrument used for collecting data was questionnaires. Statistical tools employed for descriptive statistical analysis were mean and percentage, and those for inferential statistical analysis were t-test,f-test, and Scheffe test. Research findings showed that: (1) personnel School of Science Walailak University had the job commitment at medium level (2) personal Characteristic factors as to gender and age were found to be significantly related to level of job commitment of employees at the 0.05 level; and (3) the result suggested increased participatory management by women, young and junior employees and all of the employees.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158822.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons