Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจารนัย พณิชยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิษา โพธิกุล, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T03:05:49Z-
dc.date.available2022-08-23T03:05:49Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/895-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการกำจัดทองแดง และนิกเกิลออกจากน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีสารคีเลตอีดีทีเอและไม่มีสารคีเลต ทีเอด้วยกระบวนการรีดักชั่นและการตกตะกอนทางเคมี และ (2) เพื่อเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการกำจัดทองแดงและนิกเกิลในน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีสารดีเดตอีดีทีเอและไม่มีสารคีเลตอีดีทีเอ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองในการกำจัดทองแดงและนิกเกิลในน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีสารคีเลตอีดีทีเอและไม่มีสารเลตอีดีทีเอโดยใช้ชุดเครื่องมือถังปฏิกิริยาจำลอง สารเคมีที่ใช้ในการตกตะกอนคือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ สารรีดิวซ์คือ โซเดียมโปโร ไฮไดรด โซเดียมไบซัลไฟต์ และปรับความเป็นกรด-ด่างของน้ำเสียให้อยู่ระหว่าง 6 - 8 และ 8-11 สำหรับน้ำเสียทองแดงและน้ำเสียนิกเกิลตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาวะที่เหมาะสมในการทําจัดทองแดงและนิกเกิลออกจากน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีสารคีเลตอีดีทีเอโดยใช้โซเดียมโบโรโฮไตร จํานวน 0.50 เท่าและโซเดียมไบซัลไฟต์จํานวน 0.75 เท่า โดยโมลของทองแดงทีพีเอช 8 เหลือความเข้มข้นของทองแดง 0.93 มิลลิกรัม/ลิตร และใช้โซเดียมโบโรไฮไดร จํานวน 1.10 เท่า โซเดียมไบซัลไฟด์จํานวน 1.54 เท่า โดยโมลของมิกเกิลทีพีเอช 11 เหลือความเข้มข้นของนิกเกิล 11.80 มิลลิกรัม/ลิตร สภาวะที่เหมาะสมในการกําจัดทองแดงและนิกเกิลออกจากน้ำเสียที่ไม่มีสารคีเลตอีดีทีเอเมื่อใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์จํานวน 1.50 และ 1.76 เท่าโดยไมลของทองแดงและนิกเกิล เหลือความเข้มข้นทองแดง 0.34 มิลลิกรัม/ลิตรและนิกเกิล 0.08 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลำดับ และ (2) ค่าใช้จ่ายในการกำจัดทองแดงและนิกเกิลจาก น้ำเสียสังเคราะห์ที่มีสารคีเลตอีดีทีเอ คือ 4.61 และ 10.97 บาท/ลิตร ส่วนค่าใช้จ่ายในการกำจัดทองแดงและนิกเกิลในน้ำเสียที่ไม่มีสารคีเลตดีทีเอ คือ 0.03 และ 0.04 บาท/ลิตร ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.79-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธth_TH
dc.subjectการตกตะกอน (เคมี)th_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดโลหะหนักth_TH
dc.titleการกำจัดทองแดงและนิกเกิลจากน้ำเสียด้วยกระบวนการรีดักชันและการตกตะกอนทางเคมีth_TH
dc.title.alternativeCopper and nickel removal from wastewater by reduction and precipitation processth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.79-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were : (1) to determine optimal condition in the removal of copper and nickel from synthetic wastewater with and without EDTA by reduction and precipitation processes; and (2) to compare chemical expenditures in the removal of copper and nickel from the wastewater with and without EDTA. This experimental research on the removal of copper and nickel from the wastewater with and without EDTA was conducted by Jar test. The precipitating agent was sodium hydroxide and the reducing agents were sodium borohydridc and sodium bisulfatc. The wastewater pH was varied in the range of 6-8 and 8-11 for copper and nickel removal, respectively. The data were analyzed by percentage and mean. The results of this study were that : (1) the optimal condition for removal of copper and nickel from the wastewater with EDTA by using sodium borohydridc 0.50 mole and sodium bisulfate 0.75 mole for each mole of copper at pH 8 was reduced to 0.93 mg/L for copper, and by using sodium borohydridc 1.10 mole and sodium bisulfatc 1.54 mole for each mole of nickel at pH 11 was reduced to 11.88 mg/L for nickel. The optimal condition for copper and nickel removal from the wastewater without EDTA by using sodium hydroxide 1.50 and 1.76 moles for each mole of copper and nickel was reduced to 0.34 mg/L and 0.08 mg/L, respectively; and (2) the removal expenditures of copper and nickel from the wastewater with EDTA were 4.61 and 10.97 baht/L and those of the wastewater without EDTA were 0.03 and 0.04 baht/L, respectivelyen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125466.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons