Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิธิมา ศรีสองเมือง, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T06:59:13Z-
dc.date.available2023-08-22T06:59:13Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9013en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้กระบวนการจัดการความรู้ของพนักงานการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (2) เปรียบเทียบการรับรู้กระบวนการจัดการความรู้ของพนักงานการทางพิเศษแห่งประเทศไทยโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (3) หาความสัมพันธ์ ระหว่างสื่อที่ใช้ในการจัดการความรู้และกระบวนการจัดการความรู้ของพนักงานการทางพิเศษแห่ง ประเทศไทย (4) เสนอแนะแนวทางการจัดการความรู้ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานการทางพิเศษแห่ง ประเทศไทย จำนวน 370 คนจากพนักงานทั้งหมด 4,599 คน โดยคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ โดยมีเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ สมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานมีการรับรู้กระบวนการจัดการความรู้ทั้ง 7 ด้าน ใน ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์มาก (X = 3.98) โดยการเรียนรู้มีการรับรู้มากที่สุด (X = 4.34) และการสำรวจ ความรู้หรือการล้นหาความรู้ที่องค์กรต้องการมีการรับรู้น้อยที่สุด (X = 3.73) (2) พนักงานที่มีอายุ ระดับพนักงาน และฝ่ายที่สังกัดแตกต่างกันมีการรับรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดการความรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ขณะที่พนักงานที่มีเพศและระยะเวลาปฏิบัติงานแตกต่างกัน มีการ รับรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดการความรู้ไม่แตกต่างกัน (3) สื่อบุคคล (คณะทำงานบริหารจัดการความรู้) สื่อทาง Intranet งานนิทรรศการการชัดการความรู้ประจำปี และสื่อประเภทสี่งพิมพ์ มีความสัมพันธ์ ในการพยากรณ์กระบวนการจัดการความรู้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้ร่วมกันได้ร้อยละ 45.2 (4) ฝ่ายบริหารควรเพิ่มกิจกรรมการชัดการความรู้ โดยจัดให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร พัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลให้สามารถ สืบล้นได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วมากขึ้น และกระจายความรู้ให้ทั่วถึงทั้งองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทางพิเศษแห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการรับรู้ของพนักงานการทางพิเศษแห่งประเทศไทยที่มีต่อการจัดการความรู้th_TH
dc.title.alternativePerception of knowledge management of employees of Expressway Authority of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to study the level of perception of knowledge management (KM) of employees of Expressway Authority of Thailand (EXAT); 2) to compare process of perception of KM of employees of EXAT, classified by personal characteristics; 3) to investigate the relationship between KM medias and process of perception of KM of employees of EXAT; 4) to suggest the appropriate guidelines for KM of EXAT. The sample of this survey study consisted of 370 employees out of 4,599 total employees of EXAT, selected by Yamane’s method. A constructed questionnaire with the reliability of 0.90 was used as a tool to collect data. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA The results of this study showed that 1) the employees’ perception of KM process was overall at a high level ( = 3.98) in 7 steps. The learning process was at the highest level ( = 4.34), while survey or searching knowledge was at the lowest level ( = 3.73). 2) Employees with different ages, working positions, and departments had different perceptions of KM process, with a statistical significance at 0.05 level, while those with different genders and duration of work had no different perception of KM process. 3) Personal media (KM team), intranet media, annual KM exhibition and printed media were significantly related to the forecast of KM process, that is, it could forecast the change of KM process at 45.2 percent. And 4) the management should add more KM activities by exchanging KM process within and outside organization. In addition, the organization should develop the ways to access to data searching systems for faster, and more convenient in order to disperse knowledge throughout the organization.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_140825.pdfเอกสารฉบับเต็ม13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons