Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติกร สอนอาจ, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T03:58:53Z-
dc.date.available2022-08-23T03:58:53Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/909-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการใช้บริการสารสนเทศทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าโดยผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) เปรียบเทียบการใช้บริการสารสนเทศ ทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า จำแนกตามตัวแปรกสุ่มธุรกิจการค้า และขนาคของธุรกิจการค้า 3) ศึกษา ปัญหาการใช้บริการสารสนเทศทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และ 4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้บริการ สารสนเทศทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า จำแนกตามตัวแปรกสุ่มธุรกิจการค้า และขนาดของธุรกิจ การค้า วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างเลือกโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบโควตา ได้ผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี และ สมุทรปราการ ที่ใช้บริการสารสนเทศบนเว็บไซต์กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจำนวน 420 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานและ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการใช้บริการสารสนเทศทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดย ผู้ประกอบการมีความถี่ในการใช้ไม่แน่นอน และแต่ละครั้งใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือช่วย ค้น (search engine) ในการเช้าถึงเว็บไซฅ์ 2) เปรียบเทียบการใช้บริการสารสนเทศบนเว็บไซต์ของกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าจำแนกตามตัวแปรกลุ่มธุรกิจการค้า และขนาดของธุรกิจการค้า พบว่ามีการใช้ไม่แตกต่างกัน โดย หัวข้อที่มีการใช้มากคือ e-Service และ บริการกรม ส่วนผลการประเมินรายการสารสนเทศบนเว็บไซต์ส่วนใหญ่ ผู้ประกอบการเห็นด้วยในระดับมากในต้านเนื้อหา ด้านการออกแบบและจัครูปแบบเว็บไซต์ และด้านการใช้ ประโยชน์ 3) ปัญหาการใช้บริการสารสนเทศบนเว็บไซต์กรมพัฒนาธุรกิจการค้าในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เช่นระบบขัดข้องไม่สามรถเข้าใช้งานได้บ่อบครั้ง ข้อมูลบางส่วนที่ค้นพบไม่มีการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน และ สืบค้นแล้วไม่พบข้อมูลที่ต้องการภายในเว็บไซต์ของกรมธุรกิจการค้า 4) เมื่อเปรียบเทียบปัญหาการใช้บริการ สารสนเทศทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า จำแนกตามตัวแปรกลุ่มธุรกิจการค้าและขนาดของธุรกิจ การค้า พบว่าปัญหาการใช้ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.17-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมพัฒนาธุรกิจการค้าth_TH
dc.subjectเว็บไซต์--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้บริการสารสนเทศทางเว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยผู้ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeThe use of information service on the department of business development website of the entrepreneurs in Bangkok and the metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.17-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to study the use of information services on the Department of Business Development website by the entrepreneurs in Bangkok and the metropolis; 2) to compare the use of information services on the Department of Business Development website according to business groups and size; 3) to study the problems of using the information services on the Department of Business Development website and 4) to compare the problems of using the information services on the Department of Business Development website in term of business groups and size. This study employed the quantitative research methodology. The samples consisted of 420 entrepreneurs who used information services on the Department of Business Development website and lived in Bangkok, Nonthaburi, Pathum Thani and Samut Prakan. The research instruments were questionnaires. The statistics applied for data analysis included percentage, means, standard deviation, and t-test. Research findings were as follows: 1) the use of information services on the Department of Business Development website by entrepreneurs was not regular and was for less than 1 hour each time. The search tools were search engines; 2) business in different groups and sizes showed no statistically significant difference in their use of the website. The most popular topics were e-Service and the Department services. As for the service items evaluation, the entrepreneurs highly agreed on four areas, i.e. the content, design, format and utilization; 3) the problems of using information services on the website were moderate in such areas as system failure, out-dated information and unavailable information; 4) the comparison of problems of using information services on the Department of Business Development website according to groups and size of business showed no statistically significant differenceen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (5).pdfเอกสารฉบับเต็ม4.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons