กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9102
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัญชิสา แซ่กอ, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-25T06:42:13Z-
dc.date.available2023-08-25T06:42:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9102-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) ความรู้เกี่ยวกับการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 3) การปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 4) การได้รับการส่งเสริมและความต้องการการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรร้อยละ 56.1 เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 57.60 ปี มีประสบการณ์ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว เฉลี่ย 4.92 ปี การได้รับการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว เฉลี่ย 3. 16 ครั้ง/ปีมีพื้นที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเฉลี่ย 13.61 ไร่ จำนวนแรงงานในการทำนาเฉลี่ย 2.99 คน ร้อยละ 94.4 ใช้แหล่งเงินทุนกองทุนหมู่บ้าน ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 1,853.19 บาท/ไร่ รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ย 4,818.30 บาท/ไร่ รายได้นอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 69,300 บาท/ปี 2) เกษตรกรเกือบทั้งหมดมีความรู้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในระดับมากที่สุด โดยมีความรู้มากที่สุดคือพื้นที่ปลูก และมีความรู้น้อยที่สุด คือ การจัดการกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตผลคุณภาพ 3) การปฏิบัติเกษตรกรร้อยละ 61.8 มีการปฏิบัติการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ในระดับมาก โดยคนส่วนใหญ่ปฏิบัติมากในประเด็นการเตรียมดินการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาและการขนย้ายผลิตผลภายในแปลง ปฏิบัติน้อยที่สุดในประเด็น การบันทึกข้อมูลและตามสอบ 4) เกษตรกรร้อยละ 97.7 ได้รับการส่งเสริมด้านเนื้อหามากที่สุด ประเด็นการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ต้องการรับการส่งเสริมมากที่สุด ในประเด็นการจัดการกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตผลคุณภาพเกษตรกรทั้งหมด ได้รับการส่งเสริมแบบมวลชน โดยผ่านหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและเอกสารแผ่นพับ/คู่มือ และต้องการการส่งเสริมมากที่สุดผ่านหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและการศึกษาดูงานนอกสถานที่ เกษตรกรร้อยละ 97.7ได้รับการสนับสนุนโดยเจ้าหน้าทีติดตามให้คำแนะนำอยางสม่ำเสมอ มีความต้องการการสนับสนุนมากที่สุด ในประเด็น การหาตลาดรองรับผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 5) เกษตรกรมีปัญหาการส่งเสริมในประเด็นขาดความรู้ด้านการวางแผนการผลิตและการเดินทางไปพบเจ้าหน้าที่ เกษตรกรมีข้อเสนอแนะ อยากได้การรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ปัจจัยการผลิต การตลาด และการแปรรูปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าว--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุข้าวตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของสมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ ข้าวชุมชนบ้านอีเตี้ย-สองพี่น้อง อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeExtension in rice seed production in compliance with good agricultural practice of the members of Community Rice Seed Center at Ban E-Tia Song Pi Nong, Thawatchaburi District, Roi-Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) basic social and economic conditions 2) knowledge about rice seed production in compliance with good agricultural practice 3) practice in compliance with good agricultural practice standards 4) extension gained and requirement for extension 5) problems and suggestions about the extension in rice seed production in compliance with good agricultural practice standards of the members of the Community Rice Seed Center in Ban E-Tia Song Pi Nong. The population of the study was 175 rice seed producers who were members of the community rice seed center in Ban E-Tia Song Pi Nong (in the year 2020). Data were collected from the entire population. Data were analyzed by using statistics i.e. frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation and ranking. The results revealed that 1) 56.1% of the rice seed producers were female with the average age of 57.60 years. The average number of years of experience in rice seed production was 4.92 years. They were trained, attended seminars and went on field trips about rice seed production at the average of 3.16 times/year. The average farm size for rice seed production was 13.61 rai. The average number of labors in rice production was 2.99 persons. 94.4% of the farmers took loans from village funds. The average production cost was 1,853.19 baht/rai. The average income from agricultural sector and non-agricultural sector were 4,818.30 baht/rai and 69,300 baht/year, respectively. 2) Almost all of the farmers knew about rice seed production in compliance with good agricultural practice standards at highest level. The knowledge at highest level was about production area while the knowledge at lowest level was about the production process management to gain qualified products. 3) 61.8% of the farmers adopted the practice in compliance with good agricultural practice standards at high level in soil preparation, planting, plant care, harvest and post harvest, storage and transportation of products in the farm. They practiced at lowest level in the aspects of data recording and traceability. 4 ) 97.7% of the farmers obtained the extension at highest level in the contents about harvest and post harvest. They required the extension at highest level in the production process management for qualified products. Mass method extension through village broadcasting towers and pamphlets/manuals was done to all of the farmers. The most required extension was through village broadcasting towers and field trips. 97.7% of the farmers were supported by the officers who made regular visit to give advice. The farmers needed the most support on the markets for rice seed yields. 5) The farmers’ extension problems were the lack of knowledge about production planning and travelling to meet the officers. The farmers suggested their products be qualified with Good Agricultural Practice Standards. Input factors, marketing and processing were also required by the farmers.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
168412.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons