Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9134
Title: ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจพลังงาน กรณีศึกษาบริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)
Other Titles: Competencies study of energy business : a case of Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Company Limited
Authors: ธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษา
ศศิธร สำเภา, 2519-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
บริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง--การบริหาร
พลังงาน--ไทย
ไฟฟ้า--การผลิต
การแข่งขัน
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
Issue Date: 2546
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: ความสำคัญของปัญหา การแปรรูปของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยจัดตั้ง เป็นบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ภายในปี 2547 เป็นสิ่งที่มีผลกระทบและท้าทาย ความสามารถของบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โชถดิ้ง จำกัด (มหาชน) เป็นอย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็น การแข่งขันกันเองในธุรกิจเดียวกัน โดยไม่มีการสนับสนุนจากภาครัฐ องค์กรจึงต้องมีการปรับตัว เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการให้เกิดความพร้อม ภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น วัดถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันของกิจการ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต วิธีดำเนินการศึกษา การศึกษาเชิงสำรวจครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย 14 ค้าน ที่ก่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจพลังงาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารทั้งหมด จำนวน 19 คน ในบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮถดิ้ง จำกัค (มหานน) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มาตรประมาณค่าเกี่ยวกับระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันใน ปัจจุบันและอนากต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ก่าจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ซึ่งกำหนดระดับความเชื่อมั่นที่ระดับ 0.95 ผลการศึกษา พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 35 - 44 ปี การศึกษาอยู่ใน ระดับปริญญาโท มีอายุงานในตำแหน่งานปัจจุบันต่ำกว่า 3 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างมีความเห็น สอดคล้องตรงกันว่า ในปัจจุบันกิจการมีความสามารถในการแข่งขันในระดับปานกลางเท่านั้น เนื่องจากกิจการให้ความสำคัญโดยมีการใช้และปฏิบัติจริงสำหรับปัจจัยเพียงบางค้าน ได้แก่ ปัจจัยทางด้านการบริหารการเงินและต้นทุน ด้านวิสัยทัศน์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน การผลิต และค้านการตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า ส่วนในอนาคตนั้น กลุ่มตัวอย่างให้ ความเห็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างชัดเจน โดยมีความคาดหวังที่จะนำปัจจัยทั้ง 14 ด้าน มาใช้ ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขันในระดับมาก
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9134
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82477.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons