Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9139
Title: การใช้เทคนิค PERT เพื่อการตัดสินใจดำเนินโครงการในธุรกิจก่อสร้างกรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยชินวัตร
Other Titles: Application of PERT technique for decision making in construction business project the case study of Main Hall Buliding Construction Shinawatea [i.e. Shinawatra] University
Authors: จีราภรณ์ สุธัมมสภา
สถิตย์ ฉิมดอนทอง, 2498-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยชินวัตร--อาคารเรียน--การออกแบบและก่อสร้าง
การออกแบบโครงสร้าง
อุตสาหกรรมการก่อสร้าง--การจัดการ
อุตสาหกรรมการก่อสร้าง--การวางแผน
อาคารเรียน--การออกแบบและก่อสร้าง
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
Issue Date: 2546
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: ธุรกิจก่อสร้างเป็นธุรกิงที่มักมีการดำเนินงานในรูปโครงการทั้งนี้ เพราะงานก่อสร้างเป็นการผลิตออกมาในลักษณะของตัวอาคาร เมื่อผลิตเสร็จก็ถือว่างานโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จโดยมีสัญญาการก่อสร้างที่ใช้เป็นเครื่องมือควบคุมเวลาการก่อสร้าง ซึ่งจะกำหนดเวลาเริ่มต้นของการทำงานและเวลาแล้วเสร็จของงาน ส่วนกระบวนการก่อสร้างก็จะมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป ตามศักขภาพของแต่ละบริษัท ในการควบคุมเวลาการก่อสร้าง จึงถือเป็นหัวใจหลักของการทำโครงการที่จะต้องให้ความสำคัญในการวางแผนและการประเมินความเป็นไปได้ ที่ โครงการจะแล้วเสร็จตามกำหนดเวลาในสัญญาการก่อสร้างการทำงานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพัฒนาเพื่อประยุกต์ใช้เทคนิค PERT ในการวางแผนการควบคุมโครงกรก่สร้งอาคารเรียนรวมมหาวิทยาลัยชินวัตร เพื่อจะใช้เป็นแนวทางให้แก่ผู้สนใจและนำไปประยุกต์ใช้กับโครงการที่จะทำ โคยการนำข้อมูลสถิติที่ จัดเก็บไว้อย่างมีระบบมาใช้ประ โยชน์ในการวางแผนและช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ ให้เกิดความมั่นใจได้ว่าโครงการจะแล้วเสร็จทันเวลาตามสัญญาการก่อสร้าง ตลอดจนทดลองเร่งงานเพื่อให้โครงการแล้วเสร็จตามนโยบายของฝ่ายบริหารผลการวิจัยพบว่าระยะเวลาในการดำเนินโครงการเท่ากับ 507 วัน. หากสัญญาจ้างกำหนดให้แล้วเสร็จภายในเวลาไม่เกิน 520 วัน จะพบว่าโครงการมีความเป็นไปได้ที่จะเสร็จตามสัญญาถึง 79.10 ในทางกลับกันหากผู้ว่าางต้องการให้โครงการเสร็ก่อนกำหนดจาก 507 วันเป็น 488 วัน ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถที่จะใช้หลักการเร่งโครงการมาประยุกต์ใช้ โดยพบว่าหากเร่งโครงการลง 19 วัน จะพบว่าโครงการะมีคำใช้ง่ายเพิ่มขึ้น 61,580 บาท จึงเป็นไปตามหลัก การของการเร่งโครงการทุกประการ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9139
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
85763.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons