Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9153
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนลินี โหมดศิริ, 2530- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T03:48:55Z-
dc.date.available2023-08-28T03:48:55Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9153en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและหลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวกับกฎหมายการทำแท้งของต่างประเทศ ศึกษาความหมาย วิวัฒนาการ แนวคิดทฤษฎีทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการทำแท้งของประเทศไทย ตลอดจนผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อหญิง และเด็กที่คลอดออกมาซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการแก้ไขปัญหาการทำแท้งของประเทศไทย และเป็นแนวทางในการเสนอแนะให้มีการเพิ่มเติมบทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 305 ของประเทศไทย โดยเพิ่มเหตุแห่งการทำแท้งโดยชอบด้วยกฎหมายให้สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริงของปัญหาที่มีอยู่ ในประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารทางนิติศาสตร์ บทความทางวิชาการ ตำราวิชาการ วิทยานิพนธ์ทางกฎหมาย คำพิพากษาศาล ห้องสมุดทางอินเตอร์เน็ต และจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มหญิงที่มีความเป็นอยู่อย่างยากจนเหลือทนทาน ประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจ มีโอกาสตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เป็นอย่างมาก เพราะขาดความรู้ด้านการคุมกำเนิด และเข้าถึงการคุมกำเนิดไม่ได้เพราะยากจน เมื่อไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ จึงทำให้เกิดการทำแท้งเถื่อนเป็นอย่างมาก และหากปล่อยให้ตั้งครรภ์ต่อไปจนคลอดบุตรออกมา ผลที่ตามมาคือปัญหาไม่มีเงินเลี้ยงดูบุตร ปัญหาการทอดทิ้งบุตร การฆาตกรรมและทำร้ายบุตร ฯลฯ จึงควรบัญญัติ เพิ่มเติมให้การทำแท้งเพราะความยากจนเหลือทนทานเป็นเหตุแห่งการทำแท้งได้โดยชอบด้วย กฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 305th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำแท้งถูกกฎหมายth_TH
dc.subjectการทำแท้ง--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleเหตุแห่งการทำแท้งโดยชอบด้วยกฎหมายth_TH
dc.title.alternativeCause of legal abortionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study. purpose to study the concept Theories and Critique of Abortion Laws in Abroad. to study the evolution of concepts and legal theories concerning abortion in Thailand. The impact on women and child who birth as a result of economic problems. In order to analyze the problems and obstacles in solving the problem of abortion in Thailand. It is suggested that the provisions of section 305 of Thailand's Criminal Code should be amended by adding the legitimate abortion situation in accordance with the facts of the problem in Thailand. This independent study is a qualitative research. Study of legal documents Legal papers, court judgments, libraries on the Internet, and websites related to both Thai and foreign law. The study found that the indigent women who experiencing economic problems have the high possibilities to have unwanted pregnancy due to the lack of knowledge about contraception and unable to access the contraception because of poverty. Illegal abortion may occur due to the fact that unable to feed a child however, if the child was born, this may lead to the problem of child abandon, murder and physical harm. Therefore, it should be amended the Penal Code Section 305 by approving the abortion because of poverty as the legal abortion.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158604_abs.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons