Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐth_TH
dc.contributor.authorณกรณ์ โชติมณี, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T07:18:28Z-
dc.date.available2023-08-28T07:18:28Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9165en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับความลับของราชการ ศึกษาปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความลับของราชการ เพื่อหาข้อสรุปตลอดจนเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความลับของราชการมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการค้นคว้า แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความลับของราชการ โดยเปรียบเทียบการรักษาความลับของราชการตามบทกฎหมายไทยและบทกฎหมายต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า การกระทำเพื่อให้ได้มาหรือเพื่อให้คนอื่นล่วงรู้ซึ่งข้อความเอกสาร หรือสี่งใดๆ อันเป็นความลับของราชการนั้นควรบัญญัติให้ครอบคลุมถึงข้อความหรือเอกสาร หรือสี่งใด ซึ่งเกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความมั่นคง ทางเศรษฐกิจการคลังนโยบายต่างประเทศหรือผลประโยชน์ของประเทศ โดยการกำหนดโทษให้คำนึงถึงชั้นของความลับและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการกระทำดังกล่าวด้วย นอกจากนี้การกระทำความผิดของข้าราชการโดยทำให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับในราชการควรมีการกำหนดโทษหากการกระทำ ดังกล่าวเกิดจากความประมาทเลินเล่อในการเก็บรักษาความลับของราชการเป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับนั้น ให้ต้องระวางโทษเพียงกึ่งหนึ่งของอัตราโทษที่กำหนดไว้และหากผู้นั้นพิสูจน์ได้ว่า ได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับการรักษาความลับในราชการได้อย่างเหมาะสมและลูกต้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมาย--ไทยth_TH
dc.subjectความลับของทางราชการ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความลับของทางราชการth_TH
dc.title.alternativeEnforcement of law on protecting official secretsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the independent study of the enforcement of law on protecting official secrets is to study about the concepts, theories relating to the protecting official secrets, the problems in the protecting official secrets law enforcement in order to conclude and seek for the solutions for the effectiveness of the enforcement of law on protecting official secrets as well as the harmony with currently social state.t This independent study is the qualitative research by means of the documentary research about the concepts and theories regarding the keeping official secrets and comparing such notion between Thai and foreign law. Result of the research: the action performing to acquire or to allow others know the secrets of the documents or things which are the official secrets shall be regulated to cover the statement or document or other things relating to the national security, the international relations, the stability of the economic affairs, the public finance, the foreign policy or the national interests and shall be prescribed the punishment by considering the class of secrets and the effect therefrom. Moreover, the offense committing by the government officer which result in revealing the secrets, the punishment shall be regulated provided that such act arises from the negligence in protecting official secrets, making the other person knows the secret. The penalty shall be a half of the punishment prescribed and in condition that such person can prove that he has already abided by the regulation in protecting official secrets appropriately and correctly.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_159191.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons