Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนภาภรณ์ บุญคง, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T08:40:28Z-
dc.date.available2023-08-28T08:40:28Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9186-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนใน สหวิทยาเขตแวงใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 294 คน ของโรงเรียนในสหวิทยาเขตแวงใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ใน ระดับมากทุกด้าน โดยมีข้อเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้าน คือ (1) ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ อินเทอร์เน็ต (2) คุณภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความทันสมัย (3) ขั้นตอนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ นักเรียนใช้ตามลำดับของเนื้อหาอย่างถูกต้อง (4) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ ใช้เพื่อการติดต่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียน (5) ปัญหาที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์มีปริมาณไม่เพียงพอ และ (6) ความต้องการของนักเรียนเพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ ควรติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงครอบคลุมทุกพื้นที่ในบริเวณโรงเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนในสหวิทยาเขตแวงใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25th_TH
dc.title.alternativeThe use of information and communication technology for learning in Science by upper secondary education students of schools in Waeng Yai School consortium under the Secondary Education Service Area Office 25en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the use of information and communication technology for learning in science by upper secondary education students of schools in Waeng Yai School Consortium under the Secondary Education Service Area Office 25.The research sample comprised 294 upper secondary education students of schools in Waeng Yai School Consortium under the Secondary Education Service Area Office 25, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the use of information and communication technology for learning in science. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the overall use of information and communication technology for learning in science, as perceived by the students, was at the high level. When specific aspects of the use were considered, it was found that they were at the high level. These specific aspects with their items that received the highest rating mean were specified as follows: (1) the aspect of types of information and communication technology for learning in science, with the item: the Internet; (2) the aspect of quality of information and communication technology for learning in science, with the item: the technology is up-to-date; (3) the aspect of steps of the use of information and communication technology for learning in science, with the item: the students use the technology correctly according to the order of the contents; (4) the aspect of learning activities with the use of information and communication technology for learning in science, with the item: using it for interaction between the teacher and students and between students and students; (5) the aspect of problems of the use of information and communication technology for learning in science, with the item: insufficiency of the number of computers; and (6) the aspect of the needs of students for the school to promote the use of information and communication technology for learning in science, with the titem: the school should instrall high speed signal Internet network to cover all areas of the school.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148083.pdf10.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons