Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9209
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิพนธ์ แสงประดับ, 2499-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T03:12:49Z-
dc.date.available2023-08-29T03:12:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9209-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้สื่ออิเล็ก ทรอนิกส์ เพื่อการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนวมินทราชินูปทิศเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนวมินทราชินูปทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 285 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียน การสอนโดยภาพรวมว่าอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดใน แต่ละด้านได้แก่ (1) ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องการใช้ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ (2) วัตถุประสงค์ของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ ใช้เป็นแหล่งและศูนย์การเรียนรู้ (3) คุณภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ สื่อมีความเหมาะสมกับวัยของนักเรียน (4) ลักษณะและขั้นตอนการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ ใช้เพื่อการเรียนการสอนเป็นรายบุคคล (5) ความต้องการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์มากสุด คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (6) ประโยชน์ของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ ช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และ (7) ปัญหาของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือการขาดแคลนอุปกรณ์ของโรงเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectการสำรวจทัศนคติth_TH
dc.subjectนักเรียน--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนวมินทราชินูปทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeThe opinions of students toward the use of electronic media for teaching and learning at the upper secondary level of Nawaminthrachinuthit Triamudomsuksa Pattanakan School in Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study opinions of students toward the use of electronic media for teaching and learning at the upper secondary level of Nawaminthrachinuthit Triamudomsuksa Pattanakan School in Samut Prakan Province. The research sample consisted of 285 upper secondary students of Nawaminthrachinuthit Triamudomsuksa Pattanakan School in Samut Prakan Province during the first semester of the 2011 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a questionnaire. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall rating mean of the students’ opinions toward the use of electronic media for teaching and learning at the upper secondary level was at the moderate level; when each aspect of the use of electronic media for teaching and learning was considered, the items in individual aspects that received the highest rating mean were as follows: (1) the type of electronic media that students wanted to use most was the computers; (2) the highest rated objective of using electronic media was for being the source and center of learning; (3) the most important quality of the electronic media was their appropriateness for the students’ age; (4) the highest rated characteristics and steps of electronic media usage were for uses in instruction of individual students; (5) the electronic media for teaching and learning were required for use most in the Career and Technology Learning Area; (6) the top benefit of using electronic media was that they enabled students to learn by themselves; and (7) the most serious problem of the use of electronic media was the lack of equipment and aids on the part of the school.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
132454.pdf17.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons