Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบังอร วรรณศิริ, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T06:36:48Z-
dc.date.available2022-08-23T06:36:48Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/924-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณภาพ บริการ ตามระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9000:2000 ของสถานพยาบาลสังกัดรัฐวิสาหกิจ 2 แห่ง (2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพบริการตามระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO9000:2000 ของสถานพยาบาล สังกัดรัฐวิสาหกิจ ในมุมมองของผู้ให้บริการระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน และ (3) เปรียบเทียบระดับคุณภาพบริการตามระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO9000:2000 ระหว่างสถานพยาบาล สังกัด รัฐวิสาหกิจที่ 1 กับสถานพยาบาล สังกัด รัฐวิสาหกิจที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรของสถานพยาบาล สังกัดรัฐวิสาหกิจที่ 1 จำนวน 75 คน และบุคลากรของสถานพยาบาล สังกัดรัฐวิสาหกิจที่ 2 จํานวน 65 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย คือ แบบสอบถามการวิเคราะห์คุณภาพบริการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ Independent t-test statistic ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพบริการของสถานพยาบาล สังกัด รัฐวิสาหกิจทั้งสอง แห่งในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางโดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.49 และ 3.06 ตามลำดับ (2) การเปรียบเทียบระดับคุณภาพบริการของสถานพยาบาล สังกัด รัฐวิสาหกิจที่ 1 ระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) เพียงด้านเดียว คือ ด้านผลลัพธ์การปฏิบัติงาน และในสถานพยาบาล สังกัด รัฐวิสาหกิจที่ 2 พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) การเปรียบเทียบระดับคุณภาพบริการของสถานพยาบาล สังกัดรัฐวิสาหกิจที่ 1 กับสถานพยาบาล สังกัด รัฐวิสาหกิจที่ 2 พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) ทุกด้าน ข้อเสนอแนะในการวิจัย สำหรับการพัฒนาคุณภาพบริการสถานพยาบาล สังกัดรัฐวิสาหกิจที่ 2 พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) ทุกด้าน ข้อเสนอแนะในการวิจัย สําหรับการพัฒนาคุณภาพบริการสถานพยาบาล สังกัดรัฐวิสาหกิจคือหน่วยงานจะต้องการส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ควรมีการวิเคราะห์ต้นทุนในการรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ และมีระบบในการประเมินคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพบริการที่ยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.255-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานพยาบาลth_TH
dc.subjectการบริการสถานพยาบาลth_TH
dc.titleการวิเคราะห์คุณภาพบริการสถานพยาบาลสังกัดรัฐวิสาหกิจth_TH
dc.title.alternativeServices quality analysis of medical service division of state enterpriseth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.255-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารโรงพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were as follow: 1) To study level of sendee quality by using ISO 9000:2000 concepts in Medical Service Division of State Enterprise 2) To compare level of service quality which assessed by providers between administrators and health care providers, and 3) To compare level of sendee quality between the first Medical Service Division of State Enterprise and the second Medical Service Division of State Enterprise. The samples of this study consisted of 75 providers of the first Medical Service Division of State Enterprise and 65 providers of the second Medical Service Division of State Enterprise. Data were collected by questionnaire and analyzed by mean percentage and independent t-test The result of this study indicated that: (1) The services quality of both Medical Sendee Division of State Enterprise were in medium level. The mean score were 3.49 and 3.06 (2) The level of assessing quality service of the first Medical Service Division of State Enterprise between the administrator and the health care providers statistically significant difference (p-valuc<0.05) only on the sendees practices and the second Medical Sendee Division of State Enterprise was not statistically significant difference (p-valuc<0.05) in all dimensions, and (3) The level of service quality of first Medical Service Division of State Enterprise and the second Medical Sendee Division of State Enterprise were statistically significant difference (p-valuc<0.05) in all dimensions. This study recommends that firstly, the continuous quality improvement of the Medical Service Division of State Enterprise should be provided through all employees have to understand and know about the concept of continuous quality improvement. Secondly, the analysis of unit cost should be done, and the organization should be provided the evaluated quality improvement system. All these recommendations will maintain the sustainable quality improvementen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
86605.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons