Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9266
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปัทมวรรณ สุวรรณรุ่ง, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T03:25:08Z-
dc.date.available2023-08-30T03:25:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9266-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียน วัดแก่งหางแมว ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าของความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต ของนักเรียนก่อน และหลังการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียน วัดแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี 1 ห้อง จำนวน 39 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกตที่ประกอบด้วยนิทาน และแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกตที่มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ สี รูปร่าง จำนวน และประเภท (2) แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแบบคู่ขนานเพื่อวัดความก้าวหน้า ของความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกต มีประสิทธิภาพ 81.81/81.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือ 80/80 (2) นักเรียนที่ ใช้ชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ด้านการสังเกต มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ด้านการสังเกตว่ามีความเหมาะสมในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดสื่อประสมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ด้านการสังเกตสำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนวัดแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a skill enhancing multimedia package to develop observation aspect of readiness for mathematics learning of second year kindergarten students at Wat Kaeng Hang Maew School in Chanthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a skill enhancing multimedia package to develop observation aspect of readiness for mathematics learning of second year kindergarten students at Wat Kaeng Hang Maew School based on the pre-determined criterion; (2) to study the learning progress on observation aspect of readiness for mathematics learning of students before and after provision of experience with the use of the skill enhancing multimedia package to develop observation aspect of readiness for mathematics learning; and (3) to study opinions of the students toward the skill enhancing multimedia package to develop observation aspect of readiness for mathematics learning. The research sample consisted of 39 second year kindergarten students in an intact classroom of Wat Kaeng Hang Maew School in Chanthaburi province during the second semester of the 2018 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) a skill enhancing multimedia package to develop observation aspect of readiness for mathematics learning comprising fables and exercises for training the observation aspect of readiness for mathematics learning with concepts of color, shape, number, and type; (2) two parallel forms of a learning achievement test for pre-testing and post-testing in order to assess the learning progress on observation aspect of readiness for mathematics learning; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the skill enhancing multimedia package to develop observation aspect of readiness for mathematics learning. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency index, percentage, mean, standard deviation, and t-test.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161403.pdf19.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons