Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9294
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.advisor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี. | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฏฐ์พัฒน์ ศิริมหา, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-30T07:35:37Z | - |
dc.date.available | 2023-08-30T07:35:37Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9294 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบและแนวทางการตรวจสอบภายในของสำนักงานตรวจสอบภายในทหาร กองบัญชาการกองทัพไทยปีงบประมาณ 2560 (2) เปรียบเทียบการตรวจสอบ ภายในปีงบประมาณ 2560 กับการตรวจสอบภายในปีงบประมาณ 2559 ของนายทหารตรวจสอบภายใน สำนักงาน ตรวจสอบภายในทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย บนพื้นฐานตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานตรวจสอบ ภายในทหาร และ (3) หาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการตรวจสอบภายในของนายทหารตรวจสอบภายใน สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ผู้บริหาร จำนวน 5 นาย กลุ่มผู้ใช้งาน จำนวน 44 นาย และกลุ่มผู้ถูกประเมิน จำนวน 17 นาย กลุ่มผู้บริหารและกลุ่มผู้ประเมินใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง สำหรับกลุ่มผู้ถูกประเมินใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มจับฉลาก เพื่อหาตัวแทนหน่วยละ 1 นาย จากจำนวน 5 หน่วยงาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกและแบบสำรวจเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า (1) รูปแบบและแนวทางการตรวจสอบภายในของสำนักงานตรวจสอบภายใน ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ปีงบประมาณ 2560 ประกอบด้วย รูปแบบและแนวทางการตรวจสอบร่วมกัน ทุกกิจกรรม รูปแบบและแนวทางการตรวจสอบภายในด้านพัสดุเชิงรุก รูปแบบและแนวทางการตรวจสารสนเทศ แบบเต็มรูปแบบ เพื่อแก้ปัญหาและเป็นการพัฒนาการตรวจสอบภายในไปสู่การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ (2) การเปรียบเทียบกระบวนการตรวจสอบภายในปีงบประมาณ 2560 กับการตรวจสอบภายในปีงบประมาณ 2559 ของนายทหารตรวจสอบภายใน สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย บนพื้นฐาน ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ พบว่า กระบวนการตรวจสอบภายในของสำนักงานตรวจสอบภายในทหาร ในปี 2560 มีการกำหนดตัวชี้วัดทางด้านประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ และการพัฒนาองค์การ เพื่อเป็นการพัฒนาและควบคุมกระบวนการตรวจสอบภายในของสำนักงานตรวจสอบภายใน ทหารให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเป็นไปตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการตรวจสอบภายในภาครัฐมากยิ่งชึ้น และ (3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการตรวจสอบภายในแต่ละกลุ่มพบว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญกับสำนักงานตรวจสอบภายในทหาร ซึ่งช่วยให้นายทหารตรวจสอบภายมีความสามารถในการปฏิบัติงาน สร้างความเชื่อมั่นและความพึงพอใจให้หน่วยรับตรวจได้ปฏิบติหน้าที่ไต้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนของทางราชการต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | กองบัญชาการกองทัพไทย. สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การตรวจสอบภายใน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี. | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบภายในโดยการปฏิบัติงานของนายทหารตรวจสอบภายใน สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Development of internal audit operational methods for RTARF internal auditors | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were: (1) to examine internal audit methods and guidelines on Office of Internal Audit (OIA), Royal Thai Armed Forces Headquarters (RTARF) in fiscal year 2017; (2) to compare internal audit processes of OIA, RTARF between fiscal year 2016 and 2017 based on KPIs of strategic plan; and (3) to provide recommendations of guidelines on OIA, RTARF. This study was a qualitative research. Population was divided into three groups: 5 persons for management group, 44 persons for internal auditor group and 17 persons for auditee group. Management and internal auditor groups were selected by purposive sampling method while the other was selected by random sampling method to find each informant from 5 departments. The data was collected by using in-depth interview and documentary evidence. The results showed that: (1) internal audit methods and guidelines on OIA, RTARF in fiscal year 2017 consisted of integrated all activities focusing on proactive internal audit of procurement and full scale of information technology audit in order to solve the problem and to develop modern internal audit. (2) Internal audit processes of OIA, RTARF in fiscal year 2017 set up indictors of effectiveness, service quality, performance and organizational development in order to develop and control internal auditor processes efficiently and effectively based on the government internal audit quality assurance framework better than fiscal year 2016. (3) Human resource development was essential for improving performance of OIA, RTARF which could make RTARF auditees’ confidence and satisfaction by following the government regulations. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
153571.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License